การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
12826
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/10/22
 
รหัสในเว็บไซต์ fa1825 รหัสสำเนา 17843
คำถามอย่างย่อ
สตรีในทัศนะอิสลามมีสถานภาพสูงส่งเพียงใด ?พวกเธอมีสิทธิเท่าเทียมกับผู้ชายหรือ?
คำถาม
สตรีในทัศนะอิสลามมีสถานภาพสูงส่งเพียงใด ?พวกเธอมีสิทธิเท่าเทียมกับผู้ชายหรือ?
คำตอบโดยสังเขป

ในทัศนะอิสลาม, สตรีและบุรุษนั้นมีเป้าหมายร่วมกันนั่นคือ – การพัฒนาตนไปให้ถึงยังสถานอันสูงสุดของความเป็นมนุษย์ – และการไปถึงเป้าหมายดังกล่าว ทั้งสองจึงมีมาตรฐานอันเดียวกัน ซึ่งความต่างเรื่องเพศอันเป็นความจำเป็นของการสร้าง แทบจะไม่มีบทบาทอันใดทั้งสิ้นในการสร้าง หรือเพิ่มเติมศักยภาพและความสามารถดังกล่าวนั้น หรือคุณค่าในทางศาสนาเองก็มิได้มีบทบาทอันใดเช่นกัน ดังนั้น ความสมบูรณ์ของสตรีจึงมิได้อยู่ในฐานะภาพเดียวกันกับความสมบูรณ์ของบุรุษ หรือใช่ว่าบุรุษจะใช้ความเป็นเพศชาย มาควบคุมความเป็นสตรีก็หาไม่

ดังนั้น ในทัศนะของอิสลาม :

1.สตรี, จึงเป็นสถานที่ปรากฏความสวยงาม ความประณีต และความเงียบสงบ

2.สตรี, คือที่มาแห่งความสงบมั่นของบุรุษ, ส่วนบุรุษนั่นเป็นสถานพำนักพักพิง ให้ความรับผิดชอบ และการเป็นผู้นำของสตรี

3.ความใกล้ชิดกับพระเจ้าเป็นผลที่เกิดจากการประพฤติปฏิบัติดี, หรือการดำเนินในหนทางของการขัดเกลาจิตวิญญาณก็มิได้จำกัดเฉพาะอยู่ในเรื่องเพศแต่อย่างใด

4.ความแตกต่างระหว่างบุรุษและสตรีในเรื่องหลักการปฏิบัติ, ก็มิได้เกิดจากการอธรรม หรืออำนาจอธิปไตยของบุรุษ ซึ่งถืออำนาจบาดใหญ่มาจากหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีมากกว่า ในเรื่องการดูแลและรับผิดชอบครอบครัว และสังคม

คำตอบเชิงรายละเอียด

ถ้าหากเราปิดหูปิดตาไม่มองสภาพความเป็นจริง หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ได้เกิดขึ้นและเป็นไป หรือไม่ยอมพิจารณาแม้ในสิ่งที่ตนยอมรับ แล้วเวลานั้นได้แสดงทัศนะออกมา ซึ่งเราก็จะพบว่าจริงๆ แล้วความสมบูรณ์ของสตรีนั้น มิได้อยู่ในสถานภาพเดียวกันกับบุรุษแต่อย่างใด หรือมิใช่ว่าบุรุษจะมีความทะเยอทะยาน และกระโดดโลดเต้นในความเป็นบุรุษของตน

ความจริงก็คือ กายภาพในการสร้างมนุษย์นั้นมีเป็นสองครึ่งที่มีความอิสระโดยสิ้นเชิง, ทว่าทั้งสองได้ถูกสร้างขึ้นมาอย่างมีความสัมพันธ์กัน (บุรุษและสตรี)

สิ่งที่บ่งบอกให้เห็นว่าบุรุษและสตรีนั้นมีดีกว่ากันก็คือ ความกระตือรือร้นในการพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่แท้จริง,กล่าวคือการเปลี่ยนแปลงศักยภาพให้เป็นทุนมนุษย์ขณะที่อยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา –แต่ในแง่ของวะฮฺยูและคำสอนอิสลาม – และอัลกุรอานแล้วไม่มีความแตกต่างกันระหว่างเพศหญิงและเพศชาย นอกเสียจากว่าเป็นความจำเป็น ความเป็นระบบ และความสัมพันธ์ในการสร้างเท่านั้น

เนื่องจากคำถามคือ “การรู้จักสถานภาพของสตรี” ในประเด็น “คำสอนอิสลาม” ดังนั้น จึงเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพิจารณาจากทุนด้านในอันเป็นแนวคิดของศาสนา กล่าวคือจำเป็นต้องได้รับประโยชน์จากอัลกุรอาน ซุนนะฮฺอันเป็นแก่นของนบี (ซ็อล ฯ) และอะฮฺลุลบัยตฺ (อ.)

ทัศนะและมิติแห่งสถานภาพของสตรี

สถานภาพของสตรีในทัศนะอิสลามนั้น สามารถกล่าวสรุปได้ใน 3 ประเด็นดังต่อไปนี้

ก. ฐานะคือบุคลิกของความเป็นมนุษย์

1. สตรีคือแหล่งที่มาของความละเอียดอ่อน ความประณีต ความน่ารัก ความสวยงาม และความสงบ. เนื่องจากสรรรพสิ่งทั้งหลายคือแหล่งที่มาอันเป็นนามธรรมจากบรรดานามทั้งหลายของพรเจ้า, เนื่องจากบรรดาสิ่งถูกสร้างนั้นมาจากคุณลักษณะปัจจุบันของพระเจ้า (มิใช่มาจากคุณลักษณะแห่งอาตมันของพระองค์) อันประกอบด้วย ภาพปรากฎของพระเจ้าในรูปร่างของสิ่งถูกสร้างต่างๆ ดังเช่นที่ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า : การสรรเสริญทั้งมวลเป็นสิทธิแด่เอกองค์อัลลอฮฺ ซึ่งทรงปรากฏแจ้งแก่สิ่งถูกสร้าง (มนุษย์) ของพระองค์[1] และ[2]

จากมุมมองของอัลกุรอาน, ความเร้นลับในการสร้างสตรีนั้นมีความกระตือรือร้นมากยิ่งกว่า การสร้างสตรีในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนร่วมในก่อตั้งครอบครัว หรือการมีเพศสัมพันธ์อันเป็นสัญชาติญาณพื้นฐานของมนุษย์

“และหนึ่งจากสัญญาณทั้งหลายของพระองค์คือ ทรงสร้างคู่ครองให้แก่พวกเจ้าจากตัวของพวกเจ้า เพื่อพวกเจ้าจะได้มีความสุขอยู่กับนาง และทรงมีความรักใคร่และความเมตตา ระหว่างพวกเจ้า แท้จริงในการนี้แน่นอน ย่อมเป็นสัญญาณแก่หมู่ชนผู้ใคร่ครวญ[3]

2.ความพิเศษต่างๆ แห่งเชื้อชาติ และชนิด และ....ล้วนเป็นสิ่งผุสลายทั้งสิ้น “ผู้ที่เกียรติยิ่ง ณ อัลลอฮฺคือผู้มีความสำรวมตนจากบาป”[4]

3. การเชิญชวนของบรรดาศาสดาทั้งหลาย (อ.) และคำพูดของบรรดาคัมภีร์แห่งฟากฟ้าทั้งหมดล้วนเกี่ยวพันกับมนุษย์ทั้งสิ้น ซึ่งประโยคหนึ่งได้ประกาศก้องเสมอว่า “ดังนั้นผู้ใดปฏิบัติตามข้าฯ แท้จริงเขาเป็นพวกของข้าฯ”[5]

4.สถานภาพของสตรีในการสร้างมิได้เป็นพรมแดนแห่งชัยชนะ, การมี หรือการไปถึงยังเป้าหมายแต่อย่างใด “โอ้ มนุษย์เอ๋ย แท้จริงเจ้าต้องพากเพียรไปสู่พระผู้อภิบาลของเจ้าอย่างทรหดอดทน แล้วเจ้าจะได้พบพระองค์”[6] “แต่ละคนย่อมได้รับการค้ำประกันในสิ่งที่เขาขวนขวายไว้”[7] “และมนุษย์จะไม่ได้อะไรเลยนอกจากสิ่งที่เขาได้ขวนขวายเอาไว้ และแท้จริงการขวนขวายของเขาก็จะได้เห็นในไม่ช้า”[8]

5. บุคคลใดก็ตามเป็นบ่าวที่แท้จริงของพระเจ้า เขาจะได้ใกล้ชิดกับพระองค์ไม่ว่าบุรุษหรือสตรีก็ตาม

“และเมื่อบ่าวของข้าถามเจ้าว่าว่าข้าอยู่ไหน? อันที่จริงข้านี้อยู่ใกล้ ข้าจะตอบรับคำวิงวอนของผู้ที่วิงวอน ถ้าเขาวิงวอนต่อข้า”[9]

6. การไปถึงยังวิถีชีวิตหรือชีวิตที่ดี (สะอาดบริสุทธิ์) ประกอบไปด้วยเงื่อนไขสำคัญ 2 ประการ อันได้แก่ : การประพฤติคุณงามความดี และการเป็นผู้ศรัทธา (ไม่ว่าจะเป็นหญิงหรือชายก็ตาม)

“ผู้ใดปฏิบัติความดีไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม ขณะที่เขาเป็นผู้มีศรัทธา ดังนั้น แน่นอนเราจะให้เขาดำรงชีวิตที่ดี และแน่นอนเราจะตอบแทนพวกเขาซึ่งรางวัลของพวกเขา ที่ดียิ่งกว่าที่พวกเขาเคยกระทำไว้”[10]

7.แม้ว่าเขาจะย่างก้าวอยู่บนสัจธรรมความจริง, กระนั้นยังได้รับการสาปแช่งจากพระเจ้า

“แท้จริงบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธา และได้สิ้นชีพลง ขณะที่พวกเขาเป็นผู้ปฏิเสธศรัทธาอยู่นั้น ชนเหล่านี้จะประสพกับการสาปแช่งของอัลลอฮฺ และมะลาอิกะฮฺและปวงมนุษย์”[11]

สิ่งที่ได้รับจากบรรดาโองการเหล่านี้คือ, ผู้ที่อัลลอฮฺทรงตรัสถึงคือ มนุษย์ทั้งสิ้น, อันเนื่องจากมนุษย์, อยู่ในกลุ่มของผู้มีศรัทธาและปฏิบัติการงานของตน “ดังนั้น ทุกคนคือผู้ดำเนินกิจกรรมของตน” ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม, ส่วนสตรีในมุมมองของวะฮฺยู, ในประเด็นของบุคลิกภาพคือ “ความเป็นมนุษย์” เพศนั้นมิได้มีผลกระทบต่อการมีบทบาทและหน้าที่ของบุคคลแต่อย่างใด

อีกประเด็นที่ต้องพิจารณาถึงคือ สถานของสตรีในมุมมองของอิสลาม :

ข. สตรีคือบันใดของนักเอรฟานและฟากฟ้าแห่งการรู้จัก

1. มิได้เป็นเช่นนั้น, กล่าวคือพระเจ้ามิได้มีลักษณะเป็นเพศชาย หรือการรู้จัก ทว่าในความเป็นจริงพระองค์คือขุมคลัง สตรีคือ สิ่งต้องห้ามเมื่อได้ถูกนำเสนอแก่พวกเขา พวกเขาจะมุ่งไปสู่เป้าหมาย ดังนั้น การพัฒนาจิตใจจะขึ้นอยู่กับสูตรสำเร็จดังต่อไปนี้ : การรู้จัก, ความรัก, การเชื่อฟัง, และความใกล้ชิด

ขณะที่, ไม่มีความแตกต่างกันสักนิดเดียวไม่ว่าจะเป็นใคร หรือจะย่างก้าวไปสู่การรู้จัก และวิทยปัญญามากน้อยเพียงใดก็ตาม สิ่งสำคัญคือการรู้จักคุณค่าของการชี้นำ เวลานั้นเขาจึงจะได้อยู่ในข้อสัญญาของพระเจ้าที่ว่า :

“บรรดาพวกที่ต่อสู้ในวิถีทางของเรา, เขาจะได้เข้าสู่หนทางแห่งความใกล้ชิดกับเรา” และเขาได้ย่างก้าวอย่างสุขุมเพื่อไปถึงเป้าหมาย ทั้งบุรุษและสตรีอัลกุรอานได้หยิบยกตัวอย่างอันสำคัญยิ่งอันเป็นบทเรียนสำคัญแก่พวกเราเอาไว้ :

อัลลอฮฺ (ซบ.) ตรัสถึงบุคคลที่มีศรัทธาไว้ –ตัวอย่าง- “ภรรยาของฟิรอาวน์” (นางไม่พึงพอใจกับการปฏิเสธและความหยิ่งผยองของฟิรอาวน์แต่อย่างใด) นางได้ดุอาอฺกับพระเจ้าว่า “อัลลอฮฺทรงยกเอาภริยาของของฟิรเอานุเป็นอุทาหรณ์แก่บรรดาผู้ศรัทธา ขณะที่นางกล่าวว่า โอ้ พระผู้อภิบาลของข้าฯ โปรดสร้างบ้านหลังหนึ่ง ณ ที่พระองค์ในสรวงสวรรค์แก่ข้าฯ โปรดช่วยข้าฯ ให้พ้นจากฟิรเอานุและการกระทำของเขา และทรงโปรดช่วยข้าฯ ให้พ้นจากหมู่ชนผู้อธรรม”[12]

ตัวอย่างที่ดีอีกประการหนึ่งคือ ท่านหญิงมัรยัม (อ.) ซึ่งอัลกุรอาน บทตะฮฺรีม โองการที่ 12 ได้กล่าวถึงนางเอาไว้

ขณะเดี่ยวกัน อัลกุรอานได้กล่าวถึงตัวอย่างของประชาชาติที่เลวทรามเอาไว้เช่นกัน โดยกล่าวถึงสตรี 2 คน (ภรรยาของศาสดานูฮฺ และศาสดาลูฏ) เป็นตัวอย่างเอาไว้[13] โองการต่างๆ เหล่านี้,ได้ยกตัวอย่างของสตรีที่ดีและไม่ดี ซึ่งมิได้หมายความว่ามีเฉพาะสตรี หรือเป็นตัวอย่างสำหรับสตรีเท่านั้น ทว่าเป็นตัวอย่างแก่ทุกคน

2. ทุนอันมีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาขัดเกลาจิตใจคือ “หัวใจ” และ “หัวใจที่แตกสลาย” ซึ่งสตรีคือทุนที่มีความสำคัญยิ่งกว่าบุรุษเพศ : “แนวทางในการพัฒนามนุษย์ไปสู่ความสูงส่งมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ แนวทางหนึ่งคือการคิดใคร่ครวญ ส่วนอีกแนวทางหนึ่งคือการรำลึก, ลิ้นคือหนทางของการรำลึก ส่วนหัวใจคือหนทางของการวิงวอน หนทางของความรัก ดังนั้น ถ้าหากสตรีไม่ประสบความสำเร็จยิ่งไปกว่าบุรุษ นางก็อยู่ในระดับเดียวกันกับบุรุษ”[14]

3.ท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อล ฯ) กล่าวว่า : “ความรู้แห่งพระเจ้าองค์เดียวและการอิบาดะฮฺที่ดีและประเสริฐสุคคือ การขอลุแก่โทษ”[15] เป็นที่ประจักษ์ว่าการไปถึงยังความรู้เหล่านี้ ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างบุรุษและสตรี

4. ถ้าหากมีความสำรวมตนต่อพระเจ้า บุคคลนั้นก็จะไปถึงยังตำแหน่งของการมีมโนธรรม และแน่นอน ความสำรวมตนจากความผิด (ตักวา) ก็มีได้เฉพาะเจาะจงอยู่ในกลุ่มใดเป็นการเฉพาะด้วย

“แท้จริง บุคคลใดสำรวมตนจากความชั่วและอดทน (เขาจะประสบชัย) เนื่องจากอัลลอฮฺ มิทรงทำลายรางวัลของบรรดาผู้ทำความดีให้เสียหาย[16]

แต่บุคคลใดก็ตาม “ส่วนผู้ที่เกรงกลัวต่อฐานันดรของพระผู้อภิบาลของเขา และได้ระวังจิตใจจากอำนาจฝ่ายต่ำ แน่นอน สรวงสวรรค์เป็นที่พำนักสำหรับเขา”[17]

สรุป : มีตัวอย่างมากมายสำหรับสตรีที่ประสบความสำเร็จในฐานะของ อาริฟ ในทุกยุคทุกสมัย, ซึ่งเราท่านทั้งหลายประจักษ์กับสายตาตนเองแล้วว่า การเปิดประตูไปสู่การขัดเกลา และการรู้จักจิตใจตนเอง สตรีคือผู้มีบทบาทสำคัญยิ่ง

ค. สถานภาพของสตรีในบทบัญญัติของพระเจ้า

แน่นอน สิ่งอันเป็นเหตุก่อให้เกิดคำถามต่างๆ มากมาย หรือความสงสัยเกี่ยวกับสถานภาพของสตรีในอิสลามคือ, บทบัญญัติบางประการที่เกี่ยวข้องกับสตรี แต่ถ้าพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วนทั่วไปแล้วเกี่ยวกับ บทบัญญัติและชนิดหรือเพศของพวกเธอ เราก็สามารถขจัดความสงสัยเหล่านั้นไปได้อย่างง่ายดายที่สุด

บทบัญญัติของอิสลาม – พิจารณาด้านเพศ – สามารถแบ่งออกได้หลายกลุ่มดังนี้ :

1. บทบัญญัติร่วม : เช่น การถือศีลอด, นมาซ, ฮัจญ์, และ ....

2. บทบัญญัติเฉพาะสำหรับสตรี เช่น : การมีรอบเดือน ระดูเกินกำหนด และ ..

3. บทบัญญัติที่ดูเหมือนว่าจะแบ่งแยกชนชั้น เช่น : มรดกอันเป็นส่วนแบ่งของสตรี, ค่าปรับ, ค่าสินไหม, และ ...

โดยทั่วไปแล้วการมีบทบัญญัติเฉพาะสำหรับสตรี หรือการมีบทบัญญัติในสองลักษณะ (ภายนอกกับการแบ่งแยก) มีหลายองค์ประกอบด้วยกัน กล่าวคือ :

1.ผู้ชาย, คือผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายของครอบครัว ดังนั้น ชายจึงต้องมีทรัพย์สินไว้ในครอบครองมากกว่าฝ่ายหญิง (ด้วยเหตุนี้ สิทธิในการรับมรดก –เฉพาะบางประการ- เท่านั้นที่ได้มากกว่าสตรี[18]

2.รายงานบางบทที่กล่าวถึง การประณามสตรี, ก็คือสตรีในฐานะของเจ้านาย มิใช่ในฐานะของสตรี คือมนุษย์ประเภทหนึ่ง ตัวอย่าง “สตรีเสมือนแมงป่อง ทว่าคำเหน็บแนมของหญิงนั้นไพเราะ”[19]

3. รายงานฮะดีซบางบท (โดยเฉพาะจากนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ) ที่ได้กล่าวประณามสตรีเอาไว้, สตรีที่ออกสงคราม ยะมัล ในสมัยปกครองของท่านอิมามอะลี (อ.) โดยการบัญชาการของ อาอิชะฮฺ คือสตรีที่ได้รับการประณามจากท่านอิมามอะลี (ซึ่งเฉพาะเจาะจงสตรีในยุคนั้นสมัยนั้นเท่านั้น)[20]

4. ในบางประเด็นของบทบัญญัติ เช่น การเริ่มสงคราม, การตัดสินคดีความ และ .... ได้รับการยกเว้นจากสตรี มิใช่ว่าเป็นการกีดกันสิทธิของสตรี ซึ่งประเด็นนี้มีความละเอียดอ่อนมาก เนื่องจากอัลลอฮฺมิทรงประสงค์ให้สตรีต้องตกอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบอันหนักหนาสาหัส ซึ่งทำให้ฝ่ายศัตรูได้รับความสบายใจ.

ท่านอิมามอะลี (อ.) กล่าวว่า “สตรีคือที่มาของความหอมรัญจวนจิตและบอบบาง มิใช่ผู้เก่งกาจที่โหดร้ายและป่าเถื่อน”[21] 

5. บทบัญญัติบางประการ เช่น การถึงวัยบรรลุนิติภาวะตามศาสนบัญญัติของเด็กหญิงก่อนเด็กชาย .. ด้วยเหตุนี้ เด็กหญิงจึงมีโอกาสได้รับการอบรมสั่งสอนและการเอาใจใส่ดูแลก่อนเด็กชาย ซึ่งประวัติศาสตร์ได้บันทึกเอาไว้ในของ การขยายเผ่าพันธุ์ว่า โดยเฉพาะผู้หญิงนั้นจะสมรสก่อนผู้ชาย

6. บางครั้งการจำกัดบางประการ หรือการห้ามบางอย่างที่มีแก่เด็กหญิงก็เพื่อป้องการความเสียหาย ความอนาจาร และอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ – ซึ่งประเด็นนี้เป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งประการหนึ่ง – เช่น ได้มีคำสั่งแก่สตรีว่า จงพูดจาให้ไพเราะและดี แต่อย่างดัดเสียงจนน่าเกลียดเพื่อการยั่วยวน เพื่อหัวใจที่เป็นโรคร้าย หรือการยั่วยุของมาร จะได้ไม่มุ่งหมายต่อเจ้า อัลกุรอานกล่าวว่า “ไม่ควรพูดจาเพราะพริ้ง เพราะจะทำให้ผู้ที่มีโรคในจิตใจของตนเกิดความโลภ แต่จงพูดด้วยถ้อยคำที่พอเหมาะพอควร”[22]

7.ดังที่ทราบกันเป็นอย่างดีว่าความบกพร่อง และความเลวเป็นเพียงการสมมุติเมื่อสัมพันธ์ไปยังสิ่งอื่น เช่นเดียวกับเพศชายและเพศหญิงก็เป็นเพียงการสมมุติเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ เมื่อใดก็ตามที่เห็นการประณามหรือการจำกัดสำหรับสตรี ก็ถือว่าสิ่งนั้นเป็นการสมมุติเช่นกัน ตามคำสอนของอิสลามจะเห็นว่ามีอยู่หลายกรณีด้วยกันที่ให้สิทธิพิเศษแก่สตรี เช่น :

ท่านเราะซูล (ซ็อล ฯ) กล่าวว่า “ถ้าหากท่านกำลังนมาซมุซตะฮับ และเวลานั้นบิดาได้เรียกหาท่าน, ต้องไม่ยุตินมาซ, แต่ถ้ามารดาได้ร้องเรียกหาท่าน จำเป็นต้องหยุดนมาซและไปหามารดา”[23]

คำสั่งโดยตรงและชัดเจนของอัลกุรอานกล่าวว่า : “และจงอยู่ร่วมกับพวกนางด้วยดี”[24]

เพื่อการค้นคว้าเพิ่มเติม โปรดดูได้จาก :

นิซอมฮุกูกซันดัรอิสลาม, ชะฮีด มุรตะฎอ มุเฏาะฮะรี

ซันดัร อออิเนะฮฺญะมอล วะญลอล, ญะวาดี ออมูลี, อับดุลลอฮฺ

หัวข้อ : กุรอานและการเป็นผู้คุ้มครองของบุรุษเหนือสตรี, คำถามที่ 267.

 



[1] «الحمدلله المتجلی لخلقه بخلقه»،นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ, คำเทศนาที่ 108

[2] ญะวาดี ออมูลี, อับดุลลอฮฺ, ซันดัรออยอีเนะฮฺ ญะมาลวะญะลาล, หน้า 21, สำนักพิมพ์ อัสรออฺ, พิมพ์ครั้งแรก

[3]  «و من آیاته أن خلق لکم من انفسکم ازواجاً لتسکنوا الیها و جعل بینکم مودة و رحمة ان فی ذلک لآیات لقوم یتفکرون» อัลกุรอาน บทโรม, 21

[4]  อัลกุรอาน บทฮุจรอต, 13

[5]   «فمن تبعنی فأنه منی»อัลกุรอาน บทอิบรอฮีม, 36.

[6] อัลกุรอาน บทอิงชิกอก, 6.

[7]อัลกุรอาน บทฏูร, 21.

[8] อัลกุรอาน บทอันนัจญฺมุ, 39 – 40.

[9] อัลกุรอาน บทบะเกาะฮฺ, 186.

[10]  « من عمل صالحاً من ذکر و انثی و هو مؤمن فلنحیینه حیاة طیبة...» อัลกุรอาน บทอันนะฮฺลุ, 97.

[11]  «ان الذین کفروا و ما توا و هم کفار اولئک علیهم لعنة الله والملائکة والناس أجمعین» อัลกุรอาน บทบะเกาะฮฺ, 161.

[12]  «وضرب الله مثلاً للذین آمنوا إمراة فرعون إذ قالت رب ابن لی عندک بیتاً فی الجنة و نجنی من فرعون و عمله و نجنی من القوم الظالمین»อัลกุรอาน บทตะฮฺรีม, 11

[13]  «ضرب الله مثلاً للذین کفروا امراة نوح و امراة لوط...»อัลลอฮฺทรงยกเอาภริยาของนูฮฺและภริยาของลูฏเป็นอุทาหรณ์แก่บรรดาผู้ปฏิเสธ. อัลกุรอาน บทตะฮฺรีม, 10.

[14] ญะวาดี ออมูลี, อับดุลลอฮฺ, ซันดัรออยอีเนะฮฺ ญะมาลวะญะลาล, หน้า 197

[15]  «خیر العلم التوحید و خیر العبادة الأستغفار»อุซูล กาฟียฺ, กุลัยนี, เล่ม 2, หน้า 517

[16] อัลกุรอาน บทยูซุฟ, 90

[17] อัลกุรอาน บทนาซิอาต, 40-41.

[18] เพื่อการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมว่า เป็นเพราะเหตุใดมรดก และค่าปรับของสตรีจึงได้เพียงครึ่งหนึ่งของบุรุษ, โปรดศึกษาได้จากหัวข้อ ความแตกต่างระหว่างมรดกของชายและหญิงในบทบัญญัติอิสลาม คำถามที่ 116 (ไซต์) ความแตกต่างในเรื่องค่าปรับระหว่างหญิงกับชายในบทบัญญัติอิสลาม คำถามที่ 117 (ไซต์) มรดกที่เท่าเทียมกันระหว่างชายกับหญิง คำถามที่ 536 (ไซต์ 585) ชายมิได้ดีกว่าหญิง คำถามที่ 531 (ไซต์ 579)

[19] นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ, คำสุภาษิตที่, 61.

[20]  เช่น นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ, คำเทศนา 80, «ان النساء النواقص الایمان...». อันที่จริงสตรีคือ ผู้มีศรัทธาไม่สมบูรณ์

[21] «فان المراة ریحانة و لیست بقهرمانة»،นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ, จดหมายที่ 31.

[22] อัลกุรอาน บทอะฮฺซาบ, 32.

[23] ญามิอ์ อะฮาดีซ อัชชีอะฮฺ, เล่ม 21, หน้า 428-429

[24]  «و عاشر و هن بالمعروف» อัลกุรอาน บทนิซาอฺ, 19.

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

หมวดหมู่

คำถามสุ่ม

  • จะต้องชำระคุมุสกรณีของทุนทรัพย์ด้วยหรือไม่?
    5943 สิทธิและกฎหมาย 2555/04/16
    ทัศนะของบรรดามัรญะอ์เกี่ยวกับคุมุสของทุนทรัพย์มีดังนี้ ในกรณีที่บุคคลได้จัดหาทุนทรัพยจำนวนหนึ่ง แต่หากต้องชำระคุมุสจะไม่สามารถทำมาหากินด้วยทุนทรัพย์ที่คงเหลือได้ อยากทราบว่าเขาจะต้องชำระคุมุสหรือไม่? มัรญะอ์ทั้งหมด (ยกเว้นท่านอายะตุลลอฮ์วะฮีด และอายะตุลลอฮ์ศอฟี) ให้ทัศนะว่า หากการชำระคุมุสจำนวนดังกล่าวทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ (แม้จะชำระเป็นงวดก็ตาม) ถือว่าไม่จำเป็นต้องชำระคุมุสนั้น ๆ[1] อายะตุลลอฮ์ศอฟีย์และอายะตุลลอฮ์วะฮีดเชื่อว่าจะต้องชำระคุมุส แต่สามารถเจรจาผ่อนผันกับทางผู้นำทางศาสนา[2] ท่านอายะตุลลอฮ์นูรี, ตับรีซี, บะฮ์ญัตให้ทัศนะไว้ว่า ในส่วนของทุนทรัพย์ที่จำเป็นสำหรับการทำมาหากินนั้น ไม่จำเป็นจะต้องชำระคุมุส แต่หากมากกว่านั้น ถือว่าจำเป็นที่จะต้องชำระ[3] แต่ทว่าหากซื้อที่ดินนี้ด้วยกับเงินที่ชำระคุมุสแล้ว หรือได้ซื้อหลังจากปีคุมุสได้ผ่านพ้นไปแล้ว หรือได้ซื้อหลังจากปีคุมุสและขายไปก่อนที่จะถึงปีคุมุสหน้า ก็ไม่จำเป็นจะต้องชำระคุมุสแต่อย่างใด ทว่าหากได้กำไรจากการซื้อขายที่ดินดังกล่าว หากหลงเหลือจนถึงปีคุมุสถัดไปจำเป็นที่จะต้องชำระคุมุสด้วย
  • จะพิสูจน์ตำแหน่งอิมามและเคาะลีฟะฮ์ของท่านอิมามอลี(อ.)ได้อย่างไร?
    6764 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/07/20
    อิสลามเป็นสถาบันศาสนาที่จำเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อนและดูแลรักษาโดยผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมทั้งนี้ก็เพื่อถ่ายทอดสารธรรมคำสอนของอิสลามแก่ชนรุ่นหลังตลอดจนบังคับใช้บทบัญญัติในสังคมมุสลิมอย่างรอบคอบจากการที่การชี้นำมนุษย์สู่หนทางที่เที่ยงตรงถือเป็นจุดประสงค์หลักที่อัลลอฮ์ทรงสร้างสากลจักรวาลวิทยปัญญาแห่งพระองค์ย่อมกำหนดว่าภายหลังการจากไปของท่านนบี(ซ.ล.) ควรจะต้องมีผู้สืบทอดตำแหน่งผู้นำต่อไปทั้งนี้ก็เพื่อธำรงค์ไว้ซึ่งศาสนาและทางนำสำหรับมนุษยชาติและไม่ทอดทิ้งมนุษย์ให้อยู่กับสติปัญญา(ซึ่งเสี่ยงต่อการถูกกิเลสครอบงำ)
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    39702 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • กฎของการออกนอกศาสนาของบุคคลหนึ่ง, ต้องขึ้นอยู่กับการตัดสินของผู้ปกครองหรือไม่?
    5989 สิทธิและกฎหมาย 2555/05/17
    คำถามของท่าน สำนัก ฯพณฯ มัรญิอฺตักลีดได้ออกคำวินิจฉัยแล้ว คำตอบของท่านเหล่านั้น ดังนี้ ฯพณฯ ท่านอายะตุลลอฮฺ อัลอุซมาคอเมเนอี (ขออัลลอฮฺทรงคุ้มครองท่าน): การออกนอกศาสนา ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการตัดสินของผู้ปกครอง ซึ่งถ้าหากบุคคลนั้นได้ปฏิเสธหนึ่งในบัญญัติที่สำคัญของศาสนา ปฏิเสธการเป็นนบี หรือมุสาต่อท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อล ฯ) หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือนำความบกพร่องต่างๆ มาสู่หลักการศาสนาโดยตั้งใจ อันเป็นสาเหตุนำไปสู่การปฏิเสธศรัทธา หรือออกนอกศาสนา หรือตั้งใจประกาศว่า ตนได้นับถือศาสนาอื่นนอกจากอิสลามแล้ว ทั้งหมดเหล่านี้ถือว่า เป็นมุรตัด หมายถึงออกนอกศาสนา หรือละทิ้งศาสนาแล้ว ฯพณฯ ท่านอายะตุลลอฮฺ อัลอุซมา มะการิม ชีรอซียฺ (ขออัลลอฮฺทรงคุ้มครองท่าน) : ถ้าหากบุคคลหนึ่งปฏิเสธหลักความเชื่อของศาสนา หรือปฏิเสธบทบัญญัติจำเป็นของศาสนาข้อใดข้อหนึ่ง และได้สารภาพสิ่งนั้นออกมาถือว่า เป็นมุรตัด ...
  • ฮะดีษว่าด้วยการต่อสู่ในยุคสุดท้ายที่เริ่มจากอิหร่านเชื่อถือได้เพียงใด?
    17259 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2555/01/15
    ตำราทั้งฝ่ายชีอะฮ์และซุนหนี่รายงานพ้องกันว่าจะมีขบวนการต่อสู้ครั้งสำคัญเกิดขึ้นเพื่อเป็นการปูทางสู่การปรากฏกายของอิมามมะฮ์ดี(อ.) โดยเหล่าผู้ถือธงดำในขบวนการนี้จะเป็นผู้เตรียมความพร้อมก่อนที่อิมามมะฮ์ดีจะขึ้นปกครองโลกทั้งผอง[1]รัฐบาลตระเตรียมการของชาวอิหร่านเพื่อปูทางสู่รัฐของอิมามมะฮ์ดีมีสองระยะด้วยกัน:หนึ่ง. เริ่มต่อสู้โดยการชี้นำของบุรุษชาวเมืองกุมซึ่งเป็นไปได้ว่าขบวนการของเขาเป็นจุดเริ่มต้นของการปรากฏกายของอิมามเนื่องจากมีฮะดีษระบุว่าขบวนการของอิมามจะเริ่มจากทางทิศตะวันออก.[2]สอง. การเรืองอำนาจโดยซัยยิดโครอซอนีโดยการสนับสนุนของผู้บัญชาการทัพชื่อชุอัยบ์บินศอลิห์[3]ดังที่กล่าวไปแล้วฮะดีษที่เกี่ยวกับการปรากฏกายของอิมามมะฮ์ดีบทหนึ่งระบุว่า:....عَنْ عَلِیِّ بْنِ عِیسَى عَنْ أَیُّوبَ بْنِ یَحْیَى الْجَنْدَلِ عَنْ أَبِی الْحَسَنِ الْأَوَّلِ ع قَالَ رَجُلٌ مِنْ أَهْلِ قُمَّ یَدْعُو النَّاسَ إِلَى الْحَقِّ یَجْتَمِعُ مَعَهُ ...
  • บรรพบุรุษและลูกหลานของมาลิก อัชตัรเป็นผู้ที่ศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้าและเชื่อในวิลายัตหรือไม่?
    9199 تاريخ بزرگان 2554/12/11
    ตำราประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมิได้กล่าวถึงประเด็นความศรัทธาของบรรพบุรุษของมาลิกอัชตัรซึ่งมาจากเผ่า “นะเคาะอ์” และ “มิซฮัจ” ในเยเมนแต่อย่างใดสิ่งที่ประวัติศาสตร์บันทึกไว้คือเผ่านี้เป็นกลุ่มแรกๆในเยเมนที่เข้ารับอิสลามมาลิกอัชตัรมีบุตรชายสองคนคนหนึ่งมีนามว่าอิสฮากและอีกคนมีชื่อว่าอิบรอฮีมอิสฮากเป็นหนึ่งในทหารของอิมามฮุเซน (อ.) ในกัรบาลาและได้เป็นชะฮาดัตเคียงข้างกับซัยยิดุชชุฮาดาอ์ในที่สุดอิบรอฮีมได้เข้าร่วมในการปฏิวัติของมุคตารษะเกาะฟีและได้ทำหน้าในฐานะแม่ทัพอย่างเต็มความสามารถโดยได้ฆ่าบุคคลที่สังหารอิมามฮุเซน (อ.) เช่นอิบนุซิยาดประวัติศาสตร์ได้จารึกว่าอิบรอฮีมมีบุตร 5 คนนามว่านุอ์มาน, มาลิก, มุฮัมหมัด, กอซิม, คูลานในจำนวนบุตรทั้งหมดของอิบรอฮีมกอซิมและมุฮัมหมัดได้ผันตนมาเป็นนักรายงานฮาดีษในเวลาต่อมา ...
  • ในอายะฮ์ที่ได้กล่าวว่า "فَمَنِ اعْتَدَى بَعْدَ ذَلِکَ فَلَهُ عَذَابٌ أَلِیمٌ"، คำว่า “ฟะมะนิอ์ตะดา” หมายถึงอะไร และสาเหตุใดจึงมีการเตือนว่าจะลงโทษ?
    9026 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/18
    ข้อบังคับประการหนึ่งในพิธีฮัจญ์และอุมเราะฮ์ก็คือห้ามล่าสัตว์ในขณะที่ครองอิฮ์รอมซึ่งอายะฮ์ที่ 94-96 ซูเราะฮ์อัลมาอิดะฮ์ก็ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้กล่าวคือห้ามมิให้ล่าสัตว์ทะเลทรายและสัตว์น้ำในขณะที่ยังครองอิฮ์รอมก่อนที่จะกล่าวถึงความหมายของคำว่า “ตะอัดดี” (การรุกราน) จำเป็นที่จะต้องอธิบายว่าเหตุผลหนึ่งของการห้ามล่าสัตว์ในขณะครองอิฮ์รอมก็คือการที่พิธีฮัจญ์และอุมเราะฮ์เป็นอิบาดะฮ์ที่จะแยกมนุษย์ออกจากโลกิยะและจะนำพามนุษย์สู่โลกที่เต็มไปด้วยจิตวิญญาณอันสูงส่งส่วนสิ่งที่เป็นวัตถุ, การรบราฆ่าฟัน, ความอาฆาต, ความต้องการทางเพศ, ความสุขทางด้านวัตถุล้วนเป็นสิ่งที่พึงละเว้นในพิธีฮัจญ์และอุมเราะฮ์ซึ่งถือเป็นวิธีฝึกฝนที่ได้รับการอนุมัติจากพระองค์ฉะนั้นการห้ามล่าสัตว์ในขณะครองอิฮ์รอมก็อาจจะเนื่องด้วยสาเหตุเหล่านี้[1]ศาสนบัญญัติข้อนี้ได้รับการกำหนดไว้อย่างละเอียดโดยมิได้เจาะจงห้ามล่าสัตว์เพียงอย่างเดียวแต่รวมไปถึงการช่วยชี้เป้าหรือการหาเหยื่อให้ผู้ล่าก็เป็นสิ่งต้องห้ามด้วยเช่นกันดังที่ในฮะดีษได้กล่าวไว้ว่าอิมามศอดิก (อ.) กล่าวกับสหายของท่านว่า “จงอย่าถือว่าการล่าสัตว์ในขณะที่ยังครองอิฮ์รอมเป็นสิ่งอนุมัติไม่ว่าจะอยู่ในเขตฮะร็อมหรือนอกเขตฮะร็อมก็ตามและถึงแม้ว่าพวกท่านจะไม่ได้ครองอิฮ์รอมก็ไม่สามารถล่าสัตว์ได้และจงอย่าชี้เป้าแก่บุคคลที่กำลังครองอิฮ์รอมหรือผู้ที่มิได้ครองอิฮ์รอมเพื่อให้เขาล่าสัตว์และจงอย่าสนับสนุน (และสั่ง) แต่อย่างใดเพื่อที่จะได้ทำให้การล่าสัตว์นั้นๆเป็นฮะลาลเนื่องจากจะทำให้ผู้ละเมิดโดยตั้งใจต้องจ่ายกัฟฟาเราะฮ์”[2]ดังนั้น “มะนิอ์ตะดา”ในที่นี้หมายถึงบุคลลใดก็ตามที่ได้ฝ่าฝืนกฏดังกล่าว (การห้ามล่าสัตว์) ซึ่งเป็นคำสั่งของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) เขาจะต้องทนทุกข์ทรมานกับการลงโทษที่หนักหน่วงดังนั้นสาเหตุของการลงโทษคือการฝ่าฝืนกฏและคำสั่งของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) นั่นเองและการลงโทษดังกล่าวหมายถึงการลงโทษด้วยไฟนรกในโลกหน้า “หรืออาจจะหมายถึงการประสบอุปสรรคในโลกนี้ด้วยก็เป็นได้”[3] ดังนั้นการดื้อแพ่งกระทำบาปครั้งแล้วครั้งเล่าจะนำมาซึ่งภยันตรายและการลงทัณฑ์อันเจ็บปวดคำถามดังกล่าวไม่มีคำตอบเชิงอธิบาย
  • ในอายะฮ์ "وَمَنْ عَادَ فَینتَقِمُ اللّهُ مِنْهُ وَاللّهُ عَزِیزٌ ذُو انْتِقَامٍ"، สาเหตุของการชำระโทษคืออะไร
    7162 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/05
    อายะฮ์ที่ได้ยกมาในคำถามข้างต้นนั้นเป็นอายะฮ์ที่ถัดจากอายะฮ์ก่อนๆในซูเราะฮ์อัลมาอิดะฮ์ซึ่งมีเนื้อหาว่าการล่าสัตว์ขณะที่กำลังครองอิฮ์รอมถือเป็นสิ่งต้องห้ามในที่นี่อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ได้กล่าวว่าผู้ใดที่ได้ละเมิดขอบเขตของอัลลอฮ์ (ซ.บ.) กล่าวคือไม่ยี่หระสนใจเกี่ยวกับข้อห้ามในการล่าสัตว์ในขณะที่ครองอิฮ์รอมอยู่โดยได้ล่าสัตว์ขณะที่กำลังทำฮัจญ์  อัลลอฮ์ (ซ.บ.) ก็จะชำระโทษพวกเขาดังนั้นสาเหตุของการชำระโทษในที่นี้ก็คือการดื้อดึงที่จะทำบาปนั้นเอง[1]ใครก็ตามที่ได้กระทำสิ่งต้องห้าม (ล่าสัตว์ขณะครองอิฮ์รอม) พระองค์ย่อมจะสำเร็จโทษเขาอายะฮ์ดังกล่าวต้องการแสดงให้เห็นว่าบาปนี้เป็นบาปที่ใหญ่หลวงถึงขั้นที่ว่าผู้ที่ดื้อแพ่งจะกระทำซ้ำไม่อาจจะชดเชยบาปดังกล่าวได้ในอันดับแรกสามารถชดเชยบาปได้โดยการจ่ายกัฟฟาเราะฮ์และเตาบะฮ์แต่ถ้าหากได้กระทำบาปซ้ำอีกอัลลอฮ์จะชำระโทษผู้ที่ฝ่าฝืนเนื่องจากพระองค์ทรงเป็นผู้มีชัยและเป็นจ้าวแห่งการชำระโทษและสำนวนอายะฮ์นี้แสดงให้เห็นว่าบาปดังกล่าวเป็นบาปที่ใหญ่หลวงสำหรับปวงบ่าวนั่นเอง[2]คำถามนี้ไม่มีคำตอบเชิงรายละเอียด[1]มัฆนียะฮ์, มุฮัมหมัดญะวาด
  • ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับจริยศาสตร์คืออะไร? สิ่งไหนครอบคลุมมากกว่ากัน? และการตีความเกี่ยวกับจริยศาสตร์กับจริยธรรมอันไหนครอบคลุมมากกว่า?
    21405 จริยธรรมทฤษฎี 2555/04/07
    คำว่า “อัคลาก” ในแง่ของภาษาเป็นพหูพจน์ของคำว่า “คุลก์” หมายถึง อารมณ์,ธรรมชาติ, อุปนิสัย, และความเคยชิน,ซึ่งครอบคลุมทั้งอุปนิสัยทั้งดีและไม่ดี นักวิชาการด้านจริยศาสตร์,และนักปรัชญาได้ตีความเกี่ยวกับจริยศาสตร์ไว้มากมาย. ซึ่งในหมู่การตีความทั้งหลายเหล่านั้นของนักวิชาการสามารถนำมารวมกัน และกล่าวสรุปได้ดังนี้ว่า “อัคลาก ก็คือคุณภาพทางจิตวิญญาณของมนุษย์ ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่มีความเหมาะสม หรือพฤติกรรมอันเหมาะสมของมนุษย์ที่ปฏิบัติในชีวิตประจำวันตน” สำหรับ ศาสตร์ด้านจริยธรรมนั้น มีการตีความไว้มากมายเช่นกัน ซึ่งในคำอธิบายเหล่านั้นเป็นคำพูดของท่าน มัรฮูม นะรอกียฺ กล่าวไว้ในหนังสือ ญามิอุลสะอาดะฮฺว่า : ความรู้ (อิลม์) แห่งจริยศาสตร์หมายถึง การรู้ถึงคุณลักษณะ (ความเคยชิน) ทักษะ พฤติกรรม และการถูกขยายความแห่งคุณลักษณะเหล่านั้น การปฏิบัติตามคุณลักษณะที่แตกต่างกันในการช่วยเหลือให้รอดพ้น หรือการการปล่อยวางคุณลักษณะที่นำไปสู่ความหายนะ” ส่วนการครอบคลุมระหว่างจริยธรรมกับศาสตร์แห่งจริยธรรมนั้น มีคำกล่าวว่า,ความแตกต่างระหว่างทั้งสองมีอยู่เฉพาะในทฤษฎีเท่านั้นเอง ดังนั้น บนพื้นฐานดังกล่าวนี้ ถ้าหากจะกล่าวว่า สิ่งไหนมีความครอบคลุมมากกว่ากันจึงไม่มีความหมายแต่อย่างใด ...
  • เพราะเหตุอะไร เราจึงซัจญฺดะฮฺในซิยารัตอาชูรอ เพื่อขอบคุณพระเจ้า เนื่องจากโศกนาฏกรรมดังกล่าว?
    21734 จริยธรรมปฏิบัติ 2555/05/20
    การขอบคุณความโปรดปราน เป็นหนึ่งในหัวข้อที่บันทึกอยู่ในแหล่งอ้างอิงรายงานของเรา ซึ่งมีสถานภาพอันเฉพาะเจาะจงพิเศษ[1] มนุษย์ผู้ศรัทธาและเชื่อมั่นต่อพระเจ้าก็เนื่องจากว่า เขามีการรู้จักที่ถูกต้องเกี่ยวกับพระเจ้า และการสร้างสรรค์ของพระองค์, และทุกสิ่งจากพระเจ้าที่ได้ตกมาถึงพวกเขา, เขาจะขอบคุณ, เนื่องจากมนุษย์เหล่านี้, เขาจะปฏิบัติหน้าที่กำหนดจากพระเจ้าร่วมไปด้วย และเมื่อประสบอุปสรรคปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะดีหรือร้ายแรง เขาต่างแสดงความจำนนต่อพระเจ้า และถือว่าสิ่งเหล่านั้นอยู่ในหนทางนำไปสู่ความสมบูรณ์ ในหนทางของพระเจ้า ท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) ในตอนบ่ายของวันอาชูรอ, ท่านได้อยู่ร่วมกับสหายคนอื่น ร่วมแซ่ซ้องสดุดีต่อพระเจ้า ทั้งที่ทั้งความดีงามและความเลวร้าย ได้ประสบแด่ท่าน : ประโยคที่กล่าวว่า "احمده على السرّاء والضرّاء" โอ้ อัลลอฮฺ ไม่ว่าฉันจะอยู่ในสภาพปกติ หรืออยู่ในสภาพเศร้าหมอง,ฉันก็จะขอขอบคุณพระองค์ เพื่อว่าฉันจะได้รับความสัมฤทธิผล ด้วยการช่วยเหลือของพระองค์ ได้ชะฮีดและอยู่ร่วมกับบรรดาอิมามผู้บริสุทธิ์ "الحمد للّه الذی أکرمنا ...

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    60341 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    57888 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    42443 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    39702 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    39104 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    34197 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    28230 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    28171 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    28106 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    26049 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...