การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
8174
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/12/21
 
รหัสในเว็บไซต์ fa12865 รหัสสำเนา 19929
คำถามอย่างย่อ
มีหลักฐานอนุญาตให้มะตั่มให้แก่ท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.) หรือทำร้ายตัวเองของมุสลิมในช่วงเดือนมุฮัรรอม หรือเดือนอื่นหรือไม่?
คำถาม
การที่มุสลิมบางกลุ่มชนในช่วงเดือนมุฮัรรอมได้ทำมะตั่ม (ทุบอก) และตัวเอง ซึ่งการทุบอกหรือทำร้ายตัวเองนั้นไม่เป็นฮะรอมดอกหรือ? มีหลักฐานหรือเหตุผลยืนยันไหมว่าท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ได้กระทำลักษณะนี้มาก่อน? หรือมีอิมามท่านใดหรือไม่ที่ได้กระทำทำนองนี้แก่บุคคลหนึ่งที่ได้รับชะฮีด?
คำตอบโดยสังเขป

การจัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) นับได้ว่าเป็นหนึ่งในอิบาดะฮฺที่ดีที่สุด และการกระทำทุกสิ่งที่สังคมยอมรับว่านั่นเป็นส่วนหนึ่งของการจัดพิธีกรรม ถือว่าอนุญาต, เว้นเสียแต่ว่าสิ่งนั้นได้สร้างเสื่อมเสียหรือมีอันตรายจริง, หรือเป็นสาเหตุทำให้แนวทางชีอะฮฺต้องได้รับการดูถูกเหยียดหยามอย่างรุนแรง ซึ่งการทุบอก (มะตั่ม) นั้นมิได้เป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญดังกล่าว, ด้วยเหตุนี้ การกระทำดังกล่าวจึงมิได้มีความหมายผิดเพี้ยนอันใด ซึ่งการมะตั่มเพื่อรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) เป็นมุสตะฮับเสียด้วยซ้ำไป

คำตอบเชิงรายละเอียด

การจัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) นับได้ว่าเป็นหนึ่งในอิบาดะฮฺที่ดีที่สุด   และการกระทำทุกสิ่งที่สังคมยอมรับว่านั่นเป็นส่วนหนึ่งของการจัดพิธีกรรม   ถือว่าอนุญาต , เว้นเสียแต่ว่าสิ่งนั้นได้สร้างเสื่อมเสียหรือมีอันตรายจริง , หรือเป็นสาเหตุทำให้แนวทางชีอะฮฺต้องได้รับการดูถูกเหยียดหยามอย่างรุนแรง   ซึ่งการทุบอก ( มะตั่ม ) นั้นมิได้เป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญดังกล่าว , ด้วยเหตุนี้   การกระทำดังกล่าวจึงมิได้มีความหมายผิดเพี้ยนอันใด   ซึ่งการมะตั่มเพื่อรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) เป็นมุสตะฮับเสียด้วยซ้ำไป [1]

เพื่อศึกษข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ   บทบัญญัติของการจัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) โปรดดูได้จากหัวข้อ การเริ่มต้นจัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) ตำตอบที่ 3914 ( ไซต์   : 4197)   และ บทบาทของการจัดพิธีกรรมรำลึดท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .)” ตำตอบที่ 19920 ( ไซต์   : 19287)   และ การอนุญาตให้จัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) และริวายะฮฺ , ตำตอบที่ 7184 ( ไซต์   : 7443)   และ การจัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) คือหัวเชื้อสำหรับชีวิตในสังคม , ตำตอบที่ 348 ( ไซต์   : 352)   ึ่งมีอยู่ในเว็ปไซต์นี้เอง  

นอกจากคำตอบต่างๆ   ที่ได้ตอบไว้ในเว็ปไซต์แล้ว , เกี่ยวกับการมะตั่มหรือการตบลงบนศีรษะยังมีรายงานเน้นย้ำไว้ด้วย , เช่น   รอวียฺกล่าวว่า   : เมื่อท่านอิมามมูซา   อัลกาซิม ( .) ได้ถูกควบคุมตัวและถูกพาตัวไปนั้น   ท่านได้สั่งบุตรชายของท่านคือ   ท่านอิมามริฎอ ( .) ว่า   ตราบที่ท่านยังมีชีวิตอยู่นั้น , ให้ท่านอิมามริฎอ ( .) มานอนเฝ้าหน้าประตูทางเข้าบ้านเพื่อว่าข่าวจะได้ไปถึงเขา

รอวียฺ   กล่าวว่า   : พวกเราได้ปูที่นอนให้ท่านอิมามริฎอ ( .) ทุกคืน   ซึ่งหลังจากอาหารค่ำแล้ วท่านอิมาม ( .) จะมานอนที่นั่นทุกคืน   และเมื่อถึงตอนเช้าท่านก็จะกลับบ้าน , ท่านอิมามริฎอ ( .) ได้ทำเช่นนั้นอย่างต่อเนื่องนานถึง 4 ปีด้วยกัน   จนกระทั่งอยู่มาคืนหนึ่งเมื่อเราได้ปูที่นอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว   แต่ท่านอิมามริฎอ ( .) มิได้มานอนตามปกติ   ซึ่งประเด็นนี้ , เป็นสาเหตุทำให้เหล่าสหายและคนในครอบครัวของท่านกระวนกระวายใจเป็นพิเศษ , จนกระทั่งเวลาผ่านไปอีกคืนหนึ่งท่านอิมามริฎอ ( .) ได้มาที่บ้าน   และเข้าไปหาคนในครอบครัวพร้อมกับเรียก   ท่านหญิงอุมมุอะฮฺมัด   ออกมาพร้อมกับกล่าวกับเธอว่า   : ช่วยนำสิ่งที่บิดาของ ฉันได้ฝากเธอไว้ เอามาให้ฉันที , อุมมุอะฮฺมัด   เมื่อได้ยินคำพูดที่หน้าสลดใจเช่นนั้น   เธอได้ตบหน้าตบตาของเธอพร้อมกับร่ำไห้และกล่าวว่า : ขอสาบานด้วยพระนามของอัลลอฮฺ   อิมามของฉันจากไปแล้วหรือ ? ท่านอิมามริฎอ ( .) ได้กล่าวกับเธอว่า     : จงอย่ากล่าวสิ่งใดออกไปเลย   และไม่บอกกับใครด้วย , เพื่อว่าข่าวจะได้ไม่ตกทอดไปถึงผู้ปกครอง [2]

แม้ว่ารายงานดังกล่าวจะระบุว่าผู้ที่เสียใจพร้อมกับตบหน้าตบตาของตนและร่ำไห้ออกมานั้น   จะไม่ใช่มะอฺซูม   หรือเป็นอิมามก็ตาม , แต่ประเด็นที่ต้องรับไว้พิจารณาเป็นพิเศษก็คือ   เธอได้กระทำสิ่งนั้นต่อหน้าอิมามมะอฺซูม ( .) และอิมาม ( .) ก็มิได้ว่ากล่าวอันใด   หรือห้ามปรามมิให้กระทำสิ่งนั้นอีก , การนิ่งเงียบของท่านอิมาม ( .) คือเหตุผลที่บ่งบอกถึง   การตักรีร [3]   และการสนับสนุนของท่านอิมามมะอฺซูม ( .) ซึ่งถือว่าเป็นเหตุผลสำหรับคนอื่นด้วย .

อีกรายงานหนึ่งกล่าวว่า   บรรดาอะฮฺลุลบัยตฺ ( .) เมื่อมีความทุกข์ระทมหรือความเศร้าสลด   หรือโศกนาฏกรรมมาประสบกับพวกท่าน   ท่านจะร่ำไห้เสียใจ , ซึ่งประเด็นนี้ได้รับรายงานมาจากท่านอิมามฮะซัน   อัสการียฺ ( .) [4] และท่านหญิงซัยนับ ( .) [5]

สุดท้ายจะนำเสนอทัศนะของนักปราชญ์และมัรญิอฺตักลีด   ที่กล่าวถึงประเด็นดังกล่าวไว้   เช่น :

สำนัก   ฯพณฯท่านอายะตุลลอฮฺ   อัลอุซมา   คอเมเนอี ( ขออัลลอฮฺทรงคุ้มครองท่าน ) :

กล่าวว่า   การสร้างความเสียหายให้เกิดกับพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยน ( .) ถ้าอันตรายนั้นเกิดกับร่างกาย   อันเป็นสาเหตุทำให้สำนักคิด   หรือมุอฺมิน   หรือพิธีกรรมรำลึกถึงอิมามมะอฺซูม ( .) ต้องได้รับการดูถูกเหยียดหยามแล้วละก็   ถือว่าไม่อนุญาตให้กระทำ   อย่างไรก็ตามเป็นการดียิ่งถ้าหากบรรดาผู้ศรัทธาจะระมัดระวัง   และรักษาเกียรติยศความศักดิ์สิทธ์ของการจัดพิธีกรรมรำลึกถึงบรรดาอิมามมะอฺซูม ( .) โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับซัยยิดผู้เป็นหัวหน้าของบรรดาชะฮีดทั้งหลาย   ท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .)

สำนัก   ฯพณฯท่านอายะตุลลอฮฺ   อัลอุซมา   มะการิมชีรอซียฺ ( ขออัลลอฮฺทรงคุ้มครองท่าน ) :

การจัดพิธีกรรมรำลึกถึงมะอฺซูม 5 ท่านแห่งอาลิอาบา ( .) ถือได้ว่าเป็น   เครื่องหมายสำคัญที่สุดของศาสนา , และเป็นรหัสยะแห่งการธำรงอยู่ของชีอะฮฺ , ดังนั้น   จะต้องจัดให้ยิ่งใหญ่และดีที่สุดในทุกๆ   ปี , แต่สิ่งจำเป็น   คือ   ต้องหลีกเลี่ยงจากทุกภารกิจการงานที่สร้างความเสื่อมเสีย   หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย , หรือเป็นสาเหตุทำให้สำนักคิดต้องได้รับการดูถูกเหยียดหยามโดยสิ้นเชิง , ส่วนการมะตั่มโดยทั่วไปซึ่งมิได้ก่อให้เกิดอันตรายอันใดแก่ร่างกาย   ถือว่าไม่เป็นไร  

สำนัก   ฯพณฯท่านอายะตุลลอฮฺ   อัลอุซมา   ซอฟียฺ   ฆุลภัยฆอนียฺ ( ขออัลลอฮฺทรงคุ้มครองท่าน ) :

ถ้าหากการกระทำนั้นไม่ก่อให้เกิดความเสียหายอันใด   โดยตัวของมันแล้วไม่เป็นไร

คำตอบของท่าน   อายะตุลลอฮฺ   มะฮฺดียฺ   ฮาดะวียฺ   เตหะรานนี   ( ขออัลลอฮฺทรงคุ้มครองท่าน ) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ :

การจัดพิธีกรรมรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) นับได้ว่าเป็นหนึ่งในอิบาดะฮฺที่ดีที่สุด   และการกระทำทุกสิ่งที่สังคมยอมรับว่านั่นเป็นส่วนหนึ่งของการจัดพิธีกรรม   ถือว่าอนุญาต , เว้นเสียแต่ว่าสิ่งนั้นได้สร้างเสื่อมเสียหรือมีอันตรายจริง , หรือเป็นสาเหตุทำให้แนวทางชีอะฮฺต้องได้รับการดูถูกเหยียดหยามอย่างรุนแรง   ซึ่งการทุบอก ( มะตั่ม ) นั้นมิได้เป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญดังกล่าว , ด้วยเหตุนี้   การกระทำดังกล่าวจึงมิได้มีความหมายผิดเพี้ยนอันใด   ซึ่งการมะตั่มเพื่อรำลึกถึงท่านอิมามฮุซัยนฺ ( .) เป็นมุสตะฮับเสียด้วยซ้ำไป

เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์   คำวินิจฉัยต่างๆ ( โคด 982)



[1]   คำตอบของท่านอายะตุลลอฮฺ มะฮฺดียฺ ฮาดะวียฺ เตหะรานี เกี่ยวกับคำถามดังกล่าวนี้, ตรงกับคำตอบของท่านอายะตุลลอฮฺ อัลอุซมาซอฟียฺ ซอฟียฺ ฆุลภัยคอนียฺ ซึ่งท่านได้ตอบคำถามว่า : ถ้าหากการกระทำนั้นไม่ก่อให้เกิดความเสียหายอันใด โดยตัวของมันแล้วไม่เป็นไร

[2]   กุลียนียฺ,มุฮัมมัด บิน ยะอฺกูบ, กาฟียฺ, เล่ม 1, หน้า 381, และ 382, ดารุลกุตุบ อัลอิสลามียะฮฺ เตหะราน, ปี 1365.

[3]   ตักรีร คือ ซุนนะฮฺอิบาดะฮฺ จาก : การกระทำ,คำพูด,และการนิ่งเงียบของท่านอิมามมะอฺซูม (อ.)”

[4]   มัจญฺลิซซียฺ, มุฮัมมัดบากิร, บิฮารุลอันวาร, เล่ม 50, หน้า 191, สถาบันอัลวะฟาอฺ, เลบานอน, ปี ฮ.ศ.ที่ 1404, กะชียฺ, มุฮัมมัด บิน อุมัร, ริญาลกะชียฺ, หน้า 480, อินติชารอตดอเนชเกาะฮ์มัชฮัด, ปี 1348.

[5]   ซัยยิดอะลี บิน มูซา บิน ฏอวูส, อัลลุฮูฟ, หน้า 178,179, อินติชารอตญะฮอน, เตหะราน, ปี 1348.

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

หมวดหมู่

คำถามสุ่ม

  • อะฮ์ลิสซุนนะฮ์จะต้องเชื่อเช่นไรจึงจะถือว่าเป็นชีอะฮ์แล้ว?
    6618 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/11/09
    ชีอะฮ์และซุนหนี่มีความเชื่อและหลักปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันมากมายอาจมีบางประเด็นที่เห็นต่างกันข้อแตกต่างสำคัญระหว่างชีอะฮ์กับซุนหนี่ก็คือประเด็นปัญหาเกี่ยวกับหลักอิมามัตและภาวะผู้นำของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ของนบี(ซ.ล.) พี่น้องซุนหนี่จะรับสายธารชีอะฮ์ได้ก็ต่อเมื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อประเด็นอิมามัตเสียก่อนทั้งนี้ก็เนื่องจากชีอะฮ์เชื่อว่าหากไม่นับรวมสถานภาพการรับวะฮีย์แล้ว
  • การที่กล่าวว่า อัลลอฮฺทรงลืมปวงบ่าวบางคนของพระองค์หมายความว่าอย่างไร?
    7016 การตีความ (ตัฟซีร) 2554/10/22
    อัลลอฮฺ (ซบ.) ตรัสไว้ในอัลกุรอาน, ถึง 4 ครั้งด้วยกันเกี่ยวกับการลืมของปวงบ่าว โดยสัมพันธ์ไปยังพระองค์ ดังเช่น โองการหนึ่งกล่าวว่า : วันนี้เราได้ลืมพวกเขา ดังที่พวกเขาได้ลืมการพบกันในวันนี้” โองการข้างต้นและโองการที่คล้ายคลึงกันนี้สนับสนุนประเด็นดังกล่าวได้เป็นอย่างดีว่า ในปรโลก (หรือแม้แต่โลกนี้) จะมีชนกลุ่มหนึ่งถูกอัลลอฮฺ ลืมเลือนพวกเขา, แต่จุดประสงค์ของการหลงลืมนั้นหมายถึงอะไร?การพิสูจน์ในเชิงสติปัญญา และเทววิทยาที่มีอยู่ในปัจจุบันในตำราของอิสลามกล่าวว่า การหลงลืมหมายถึงการไม่ครอบคลุมทั่วถึงเหนือสภาพของสิ่งถูกสร้าง แน่นอน สิ่งนี้อยู่นอกเหนืออาตมันสมบูรณ์ของอัลลอฮฺ ดังเช่นพระดำรัสของพระองค์ตรัสว่า “องค์พระผู้อภิบาลมิใช่ผู้หลงลืมการงาน”จากคำพูดของบรรดาอิมามมะอฺซูม (อ.) ได้ประจักษ์ชัดเจนว่า จุดประสงค์ของการหลงลืมของอัลลอฮฺ (ซบ.) มิได้หมายถึงการลืมเลือน การไม่มีภูมิความรู้ และการไม่รู้แต่อย่างใด, เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ...
  • ท่านบิลาลแต่งงานหรือยัง? ในกรณีที่แต่งงานแล้ว ท่านมีลูกหลานหรือไม่?
    9299 تاريخ بزرگان 2554/11/17
    ตำราประวัติศาสตร์กล่าวถึงการแต่งงานของบิลาลเอาไว้เช่นเล่าว่าท่านนบี (ซ.ล.)เสนอแนะและสนับสนุนให้ท่านแต่งงานกับสตรีผู้หนึ่งจากเผ่าบนีกะนานะฮ์[1]และบ้างก็กล่าวว่าท่านแต่งงานกับสตรีจากเผ่าบะนีซุฮเราะฮ์[2]อีกทั้งได้มีการกล่าวว่าท่านเดินทางพร้อมกับพี่ชายเพื่อไปสู่ขอหญิงชาวเยเมนคนหนึ่ง
  • อะฮ์ลุลบัยต์หมายถึงบุคคลกลุ่มใด?
    12265 ปรัชญาอิสลาม 2554/06/28
    คำว่า“อะฮ์ลุลบัยต์”เป็นศัพท์ที่ปรากฏในกุรอานฮะดีษและวิชาเทววิทยาอิสลามอันหมายถึงครอบครัวท่านนบี(ซ.ล.) ความหมายนี้มีอยู่ในโองการตัฏฮี้ร(อายะฮ์33ซูเราะฮ์อะห์ซาบ).นักอรรถาธิบายกุรอานฝ่ายชีอะฮ์ทั้งหมดและฝ่ายซุนหนี่บางส่วนแสดงทัศนะฟันธงว่าโองการดังกล่าวประทานมาเพื่อกรณีของชาวผ้าคลุมอันหมายถึงตัวท่านนบีท่านอิมามอลีท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ท่านอิมามฮะซันและอิมามฮุเซน. อะฮ์ลุลบัยต์ในที่นี้จึงหมายถึงบุคคลเหล่านี้ (อ้างจากฮะดีษที่รายงานจากอิมามอลีอิมามฮะซันอิมามฮุเซนอิมามซัยนุลอาบิดีนและอิมามท่านอื่นๆรวมทั้งที่รายงานจากอุมมุสะลามะฮ์อาอิชะฮ์อบูสะอี้ดคุดรีอิบนุอับบาสฯลฯ) นอกจากนี้ยังมีฮะดีษจากสายชีอะฮ์และซุนหนี่ระบุว่าอะฮ์ลุลบัยต์หมายรวมถึงอิมามซัยนุลอาบิดีนจนถึงอิมามมะฮ์ดี(อ.)ด้วยเช่นกัน. ...
  • ตัฟซีรอิมามฮะซัน อัสการีย์ (อ.) »อัลฮัมดุลลิลฮิร็อบบิลอาละมีน« หมายถึงอะไร?
    11460 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/05/17
    ตัฟซีรอิมามฮะซัน อัสการียฺ (อ.) เป็นหนึ่งในตัฟซีรที่กล่าวว่าเป็นของท่านอิมาม ซึ่งมีเหตุผลบางประการพาดพิงว่าตัฟซีรดังกล่าวเป็นของท่านอิมาม แต่เป็นเหตุผลที่เชื่อถือไม่ได้แน่นอน ตัฟซีรชุดนี้ได้มีการตีความอัลกุรอาน บทฟาติฮะฮฺ (ฮัม) และบทบะเกาะเราะฮฺ โองการ 282 โดยรายงานฮะดีซ ซึ่งในวิชาอุลูมกุรอานเรียกว่าตัฟซีร »มะอฺซูเราะฮฺ« อย่างไรก็ตาม, ท่านอิมามฮะซันอัสการียฺ (อ.) ได้อธิบายถึงประโยคที่ว่า «اَلْحَمْدُ لِلَّهِ رَبِّ الْعالَمِين» ไว้ในหลายประเด็น, เนื่องจาการขอบคุณอัลลอฮฺ เพราะความโปรดปรานต่างๆ อันไม่อาจคำนวณนับได้, การสนับสนุนสรรพสิ่งถูกสร้าง, ความประเสริฐ และความดีกว่าของชีอะฮฺ เนื่องจากการยอมรับวิลายะฮฺ และอิมามะฮฺของท่านอิมามอะลี (อ.) และกล่าวว่า เนื่องจากจำเป็นต้องขอบคุณอัลลอฮฺ เพราะความโปรดปรานของพระองค์ จึงได้กล่าวว่า «اَلْحَمْدُ لِلَّهِ رَبِّ الْعالَمِين» ...
  • ฟิรอูนถูกลงโทษต่อพฤติกรรมที่เป็นบททดสอบของอัลลอฮ์ได้อย่างไร?
    10519 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/04/02
    หนึ่งในจารีตของพระองค์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงก็คือ “การทดสอบปวงบ่าว” ซึ่งกระทำผ่านเหตุการณ์และปัจจัยต่างๆ บางครั้งพระองค์ใช้ผู้กดขี่เป็นบททดสอบทั้งๆที่ตัวผู้กดขี่เองไม่ทราบว่าตนเองเป็นบททดสอบ กรณีเช่นนี้จึงหาได้ลดทอนความน่ารังเกียจของพฤติกรรมของพวกเขาไม่ และไม่ทำให้สมควรได้รับการลดหย่อนโทษแต่อย่างใด ทั้งนี้ก็เนื่องจากว่าพระองค์ไม่ได้สั่งให้เขาเป็นบททดสอบสำหรับผู้อื่น ทว่าพระองค์ทรงตระเตรียมการในลักษณะที่ว่า เมื่อใดก็ตามที่ผู้กดขี่แสดงพฤติกรรมกดขี่ด้วยการตัดสินใจของตนเอง การกดขี่ดังกล่าว (ซึ่งขัดต่อคำสอนของพระองค์) ก็จะกลายเป็นบททดสอบสำหรับผู้อื่น และเนื่องจากการกดขี่ดังกล่าวเกิดขึ้นโดยเจตนาของผู้กดขี่เอง จึงสมควรได้รับบทลงโทษ ...
  • เหตุใดซิยารัตอาชูรอจึงมีการประณามบนีอุมัยยะฮ์แบบเหมารวม “لَعَنَ اللَّهُ بَنى اُمَیَّةقاطِبَةً” คนดีๆในหมู่บนีอุมัยยะฮ์ผิดอะไรหรือจึงต้องถูกประณามไปด้วย?
    7187 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2554/06/28
    อิสลามสอนว่าไม่ว่าจะในโลกนี้หรือโลกหน้าอัลลอฮ์ไม่มีทางลงโทษบุคคลใดหรือกลุ่มใดเนื่องจากบาปที่ผู้อื่นก่อนอกเสียจากว่าเขาจะมีส่วนร่วมหรือพึงพอใจหรือไม่ห้ามปราม กุรอานและฮะดีษสอนว่าสิ่งที่จะเชื่อมโยงบุคคลให้สังกัดในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งคือความคล้ายคลึงกันในแง่ของแนวคิดและวิธีปฏิบัติดังที่กุรอานไม่ถือว่าบุตรชายผู้ดื้อรั้นของนบีนู้ฮ์เป็นสมาชิกครอบครัวท่านทั้งนี้ก็เนื่องจากมีแนวคิดและวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิงฉะนั้นบนีอุมัยยะฮ์ที่ถูกประณามในที่นี้หมายถึงผู้ที่มีแนวคิดและวิธีปฏิบัติสอดคล้องกับบรรพบุรุษที่เคยมีบทบาทในการสังหารโหดท่านอิมามฮุเซน(อ.) หรือเคยยุยงต่อต้านสัจธรรมแห่งอิมามัตรวมถึงผู้ที่ละเว้นการตักเตือนเท่านั้นทว่าเชื้อสายบนีอุมัยยะฮ์ที่ไม่มีประวัติด่างพร้อยใดๆย่อมไม่ถูกประณาม ...
  • เพราะเหตุใดชีอะฮฺจึงตั้งชื่อตนเองว่า อับดุลฮุซัยนฺ (บ่าวของฮุซัยนฺ) หรืออับดุลอะลี (บ่าวของอะลี) และอื่นๆ? ขณะที่อัลลอฮฺตรัสว่า : จงนมัสการและเป็นบ่าวเฉพาะข้าเท่านั้น
    8083 เทววิทยาดั้งเดิม 2555/07/16
    1.คำว่า “อับดฺ” ในภาษาอาหรับมีหลายความหมายด้วยกัน : หนึ่ง หมายถึงบุคคลที่ให้การเคารพ นอบน้อม และเชื่อฟังปฏิบัติตาม, สอง บ่าวหรือคนรับใช้ หรือผู้ถูกเป็นเจ้าของ 2. สถานภาพอันสูงส่งของบรรดาอิมาม (อ.) ผู้บริสุทธิ์นั้นเองที่เป็นสาเหตุทำให้บรรดาผู้เจริญรอยตาม ต้องการเปิดเผยความรักและความผูกพันที่มีต่อบรรดาท่านเหล่านั้น จึงได้ตั้งชื่อบุตรหลานว่า “อับดุลฮุซัยนฺ หรืออับดุลอะลี” หรือเรียกตามภาษาฟาร์ซีย์ว่า ฆุล่ามฮุซัยนฺ ฆุล่ามอะลี และ ...อื่นๆ 3.คนรับใช้ นั้นแน่นอนว่ามิได้หมายถึงการช่วยเหลือทางโลก หรือเฉพาะการดำรงชีพในแต่ละวันเท่านั้น, ทว่าสิ่งที่สำคัญยิ่งกว่าและมีค่ามากไปกว่านั้นคือ การฟื้นฟูแนวทาง แบบอย่าง และการเชื่อฟังผู้เป็นนายั่นเอง, เนื่องจากแม้ร่างกายของเขาจะไม่ได้อยู่ในโลกนี้แล้ว, แต่จิตวิญญาณของเขายังมีชีวิตและมองดูการกระทำของเราอยู่เสมอ 4.วัตถุประสงค์ของการใช้ประโยชน์คำว่า “อับดฺ” ในการตั้งชื่อตามกล่าวมา (เช่นอับดุลฮุซัยนฺ) เพียงแค่ความหมายว่าต้องการเผยให้เห็นถึงความรัก และการเตรียมพร้อมในการรับใช้เท่านั้น ถ้าเป็นเพียงเท่านี้ถือว่าเหมาะสมและอนุญาต, ...
  • ท่านอิมามอลี(อ.)อธิบายถึงการก้าวสู่ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ของเคาะลีฟะฮ์สามคนแรกไว้ในคุฏบะฮ์บทใด?
    6696 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2555/01/28
    ท่านอิมามอลี(อ.)กล่าวถึงการก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ของเคาะลีฟะฮ์สามคนแรกไว้ในคุฏบะฮ์ที่สามซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักในนาม “คุฏบะฮ์ชิกชิกียะฮ์” จากคำที่ท่านกล่าวตอนท้ายคุฏบะฮ์คุฏบะฮ์นี้มีเนื้อหาครอบคลุมคำตัดพ้อของท่านอิมามอลี(อ.)เกี่ยวกับประเด็นคิลาฟะฮ์และเล่าถึงความอดทนต่อการสูญเสียตำแหน่งดังกล่าวอีกทั้งเหตุการณ์ที่ประชาชนให้สัตยาบันต่อท่านซึ่งจะนำเสนอรายละเอียดในคำตอบแบบสมบูรณ์ ...
  • ความเสียหายของศาสนาคือสิ่งไหน?
    9559 دین و فرهنگ 2555/09/29
    ศาสนา,เป็นพระบัญชาศักดิ์สิทธิ์,มาจากพระเจ้า ซึ่งในนั้นจะไม่มีทางผิดพลาด และไม่มีผลกระทบอันเสียหายอย่างแน่นอน, การยอมรับความผิดพลาดและการกระทำผิด เกี่ยวข้องกับภารกิจของมนุษย์ แน่นอนการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการรู้จักผลกระทบของศาสนา และการตื่นตัวของผู้มีศาสนา สิ่งเหล่านี้จะไม่ย้อนกลับไปสู่แก่นแท้ความจริงของศาสนา, ทว่าจะย้อนกลับไปสู่ประชาชาติที่นับถือศาสนา ความใจและการพัฒนาของมนุษย์ที่มีต่อศาสนา ประเภทของการรู้จักในศาสนา และรูปแบบของการตื่นตัวในศาสนา ความเสียหายและผลกระทบต่อศาสนา มีรายละเอียดแตกต่างกันมากมาย เนื่องจากกลุ่มหนึ่งของความเสียหายทางศาสนา เป็นความเสียหายที่มีผลกระทบ ต่อความศรัทธาของบุคคลที่นับถือศาสนา หรือผู้มีความสำรวมตน ซึ่งความเสียหายดังกล่าวนี้เองจะอยู่ในระดับของการรู้จักทางศาสนา (ความเสียหายทางศาสนาและการศึกษา) บางครั้งก็อยู่ในระดับของการปฏิบัติบทบัญญัติและคำสั่งของศาสนา การรักษาบทบัญญัติ บทลงโทษ และสิทธิ ซึ่งศาสนาได้กำหนดเป็นข้อบังคับให้รักพึงระมัดระวังต่อสิ่งเหล่านั้น เช่น ความอิจฉาริษยา ความอคติ และเกียรติยศ อีกกลุ่มหนึ่งของความเสียหายทางศาสนา จะอยู่ในปัญหาด้านสังคมทางศาสนา เช่น ความบิดเบือน การอุปโลกน์ และการกระทำตามความนิยมต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตราย และเป็นความกดดันต่อการระวังรักษาความศักดิ์สิทธิ์ และการขยายศาสนาให้กว้างขวางออกไป ...

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    60403 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    57969 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    42502 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    39793 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    39154 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    34265 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    28308 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    28233 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    28168 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    26112 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...