การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
6388
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2554/12/21
 
รหัสในเว็บไซต์ fa15684 รหัสสำเนา 19934
หมวดหมู่ تاريخ بزرگان
คำถามอย่างย่อ
เพราะสาเหตุอันใด อับดุลลอฮฺ บิน ญะอฺฟัรจึงไม่ได้ร่วมเดินทางไปกัรบะลาพร้อมท่านอิมามฮุซัยนฺ (อ.)?
คำถาม
เพราะสาเหตุอันใด อับดุลลอฮฺ บิน ญะอฺฟัรจึงไม่ได้ร่วมเดินทางไปกัรบะลาพร้อมท่านอิมามฮุซัยนฺ?
1.ด้วยเหตุผลที่ว่า อับดุลลอฮฺ ตาบอด ถือว่าไม่ถูกต้อง,เนื่องจากรายงานกล่าวว่าเมื่อกองคาราวานเดินทางกลับจากกัรบะลาอฺนั้น อัลดุลลอฮฺ จำท่านหญิงซัยนับไม่ได้ ซึ่งเขาเห็นว่านั่นเป็นสตรีที่หมดสภาพและหมดอาลัยตายยาก
2.อับดุลลอฮฺ มีอายุมากเข้าสู่วัยชรา ก็ไม่อาจเป็นเหตุผลได้, เนื่องจากฮะบีบ และเอาสะญะฮฺ หรืออะนัสก็มีวัยชราเช่นเดียวกัน ขณะที่อิมามซัจญาด (อ.) ไม่สบายก็ได้เดินทางรวมขบวนไปด้วย
3.จากสิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้, อาจกล่าวได้ว่าอับดุลลอฮฺต้องการความปลอดภัยจากบนีอุมัยยะฮฺ ด้วยสาเหตุที่ว่า เป็นอุปสรรคและต้องการปกปักอิมามจากการยืนหยัด, ถามว่ายังมีผู้สงสัยในฐานะภาพของอับดุลลอฮฺ อีกหรือ?
คำตอบโดยสังเขป

ประเด็นที่ว่า อับดุลลอฮฺ บินญะอฺฟัร ไม่ได้เข้าร่วมขบวนการไปกับท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ยังกัรบะลาอฺ, มีเหตุผลมากมายถูกกล่าวถึง ซึ่งต้องใคร่ครวญเป็นพิเศษ และไม่อาจยอมรับได้โดยทันที,แต่จำนวนหนึ่งจากเหตุผลเหล่านั้นสามารถเชื่อถือได้, ซึ่งเหตุผลที่สำคัญและดีที่สุดคือ,คือเหตุผลที่กล่าวว่าท่านอับดุลลอฮฺป่วยไม่สบายและชราภาพด้วย ซึ่งเข้ากันได้เป็นอย่างดีกับรายงานอื่นทางประวัติศาสตร์, เช่น การส่งครอบครัวไปพร้อมกับกองคาราวานของท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) และการแสดงความเสียใจที่ไม่อาจร่วมเดินทางไปพร้อมกับท่านอิมามได้, เข้าใจได้ว่า เหตุผลนี้คือสาเหตุหลักที่ทำให้ท่านอับดุลลอฮฺ ไม่สามารถเข้าร่วมกองคาราวานกับท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) นั่นเอง, สิ่งที่ยืนยันประเด็นดังกล่าว, ฐานะภาพและการให้เกียรติที่อับดุลลอฮฺ กับอะอิมมะฮฺ (.) และบนีฮาชิมหลังเหตุการณ์อาชูรอ อีกทั้งไม่มีผู้ใดเคยว่ากล่าว หรือตำหนิท่านอับดุลลอฮฺ แต่อย่างใด

คำตอบเชิงรายละเอียด

1.บรรดาชุฮะดาแห่งกัรบะลาอฺ : เกี่ยวกับชุฮะดาแห่งกัรบะลาอฺนั้นต้องขอกล่าวว่า พวกเขาคือมนุษย์อีกจำพวกหนึ่งซึ่งได้ทำให้ความหมายของการต่อสู้ (ญิฮาด) ในหนทางของอัลลฮฺสมจริงขึ้นมา พวกเขาได้แสดงให้เห็นว่า การยืนหยัดต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮฺไม่ว่าจะเป็นไปในรูปแบบใดล้วนเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ทั้งสิ้น พวกเขาดูภายนอกถูกสังหารจนหมดสิ้นและเหมือนกับพ่ายแพ้อย่างยับเยินที่สุด, แต่ตามความเป็นจริงแล้วพวกเขาได้รับชัยชนะอย่างแท้จริง พวกเขาได้รับชีวิตอมตะด้วยการแลกด้วยความตาย และเป็นทีรักยิ่ง  อัลลอฮฺ (ซบ.) พวกเขาได้ก้าวไปถึงยังตำแหน่งหนึ่งซึ่งน้อยคนนักที่จะไปถึงได้, และความประเสริฐนี้สำหรับพวกเขาแล้วมันมีความยิ่งใหญ่ เทียบเท่าบรรดาชะฮีดแห่งสงครามบัดรฺ[1]พวกเขาได้พบกับชีวิตอมตะด้วยการสละชีวิตในหนทางของอัลลอฮฺ และทำให้พวกเขาได้พบกับความหมายที่แท้จริงของชีวิต

2.การมิได้เข้าร่วมของบางคนในกัรบะลาอฺ : บางคนผู้มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันดี แต่พวกเขาไม่ได้ใส่ใจต่อการยืนหยัดต่อสู้องท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ในแผ่นดินกัรบะลาอฺ และไม่มีข้ออ้างด้วยว่าเป็นเพราะสาเหตุใดจึงไม่ไปกัรบะลาอฺ, แต่ก็สามารถกล่าวถึงข้ออ้างของพวกเขาได้บ้าง, ด้วยเหตุนี้ การที่บางคนไม่ได้เข้าร่วมเหตุการณ์ในกัรบะลาอฺ นั้นมิได้ห่างไกลไปจากความศรัทธาที่ถูกต้องเลยแม้แต่นิดเดียว, แม้ว่าผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมนั้นต่อมาจะได้รับผลกระทบเสียหายมากมายก็ตาม อย่างน้อยที่สุดคือ การได้เป็นชะฮีดเคียงข้างท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) แต่นั่นก็มิได้หมายความว่าพวกเขาได้นอกนอกความศรัทธาไปแล้ว, และในกรณีที่มิได้เป็นเช่นนั้น ดังนั้น บุคคลใดที่ไม่ได้เข้าร่วมในเหตุการกัรบะลาฮฺ พวกเขาจึงถูกนับว่าเป็นผู้ทรยศกับแนวทางการยืนหยัดของท่านอิมามฮุซัยนฺ (.) ทว่าบางคนได้รับเกียติเป็นผู้ศรัทธาแท้จริง แม้ว่าพวกเขาจะไม่ได้เป็นมิตรสหายเหมือนมิตรสหายแห่งกัรบะลาอฺ หรือชุฮะดาแห่งกัรบะลาอฺ แต่พวกเขาก็ได้ความประเสริฐระดับสูงเช่นกัน ซึ่งน้อยคนนักที่จะสามารถก้าวไปถึงตำแหน่งดังกล่าวได้

ท่านอัลลามะฮฺ ฮิลลียฺ ได้รับรองประเด็นดังกล่าวไว้ ซึ่งท่านได้กล่าวว่า การทีอับดุลลอฮฺ บินญะอฺฟัร และบุคคลอื่นที่อยู่ในฐานะภาพใกล้เคียงกับเขา ไม่ได้เข้าร่วมเหตุการณ์กัรบะลาอฺแล้ว จะถือว่าพวกเขาออกนอกความศรัทธา

อัลลามะฮฺ มัจญฺลิซ ได้เล่ามาจากอัลลามะฮฺ ฮิลลียฺ ว่า : ตามหลักการของชีอะฮฺได้พิสูจน์แล้ว่าหลักความศรัทธานั้น ประกอบด้วย การมีศรัทธาต่อเตาฮีด ความยุติธรรมของพระเจ้า นบูวัต และอิมามัต ซึ่งฐานะภาพของมุฮัมมัด บินฮะนีฟะฮฺ หรืออับดุลลอฮฺ บิน ญะอฺฟัร นั้นสูงส่งและยิ่งใหญ่กว่าการที่จะมากล่าวว่า พวกเขาขัดแย้งกับความจริงและความเชื่อ และออกนอกความศรัทธาซึ่งได้รับผลบุญอันอมตะนิรันดร หรือความศรัทธาซึ่งจะทำให้รอดพ้นจากการถูกลงโทษ[2]

บุคลิกภาพของอับดุลลอฮฺ

อับดุลลอฮฺ บุตร ชายของญะอฺฟัร ฏ็อยยาร เป็นเซาะฮาบะฮฺผู้ยิ่งใหญ่ของท่านศาสดา (ซ็อล ) เป็นลูกพี่น้องกับท่านอิมามอะลี (.) ซึ่งความประเสริฐและฐานันดรของท่านนั้นยิ่งใหญ่ตามปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์, ญะอฺฟัรคือผู้อาวุโสของอิสลามและมุสลิม ซึ่งท่านได้รับคำสั่งจากท่านเราะซูล (ซ็อล ) ให้อพยพไปประเทศเอธิโอเปีย, อับดุลลอฮฺ คือการถือกำเนิดแรกของอิสลาม ซึ่งท่านได้คลอดในประเทศเอธิโอเปีย และหลังจากกลับจากการอพยพ ท่านได้เดินทางไปฮิญาซ เพื่อพบบิดาของท่านคือ ท่านญะอฺฟัร อัฏฏ็อยยาร ท่านได้เข้าพบท่านศาสดาเสมอ และหลังจากบิดาของท่านได้อำลาจากไป อับดุลลอฮฺ ได้รับการชุบเลี้ยงให้เติบใหญ่โดย ท่านอับบาส บุตรของ อับดุลมุฏ็อล[3]

อับดุลลอฮฺ นับได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้อาวุโสของบนีฮาชิม ท่านได้รับใช้ท่านอิมามอะลี () อยู่นานหลายปี และได้ช่วยเหลือท่านอิมาม () ในหลายเหตุการณ์ด้วยกัน อับดุลลอฮฺ รู้สึกดีถึงภาระหน้าที่ของท่าน ท่านและสหายคนอื่นของท่านศาสดา (ซ็อล ) จึงได้ร่วมมือกันเพื่อให้ความช่วยเหลือท่านอิมามอะอี (.) ในหลายๆ เหตุการณ์สำคัญ ความรักและความซื่อสัตย์ที่ท่านอับดุลลอฮ มีต่ออิสลามและระบบการปกครองในอิสลามนั้นยิ่งใหญ่มาก, ท่านอิมามอะลี (.) ได้ยินยอมให้ท่านอับดุลลอฮฺ มอบสัตยาบัน และออกสงครามหลายหนเพื่อต่อสู้กับความเท็จ อีกทั้งในสงครามต่างๆ ท่านยังได้เป็นผู้ปกป้องอิสลามอย่างเข้มแข็งที่สุดคนหนึ่ง

ความเชื่อและความศรัทธาของอับดุลลอฮฺ เกี่ยวกับท่านอิมามฮะซัน (.) และท่านอิมามฮุซัย (.) นั้นยังคงดำเนินต่อไปเรื่อยๆ และเท่าที่มีความสามารถท่านได้รับใช้อิมามทั้งสองอย่างเต็มกำลังความสามารถที่มีอยู่ ได้มีคำกล่าวว่า

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

หมวดหมู่

คำถามสุ่ม

  • เพราะเหตุใด อัลลอฮฺทรงรังเกลียดการหย่าร้างอย่างรุนแรง?
    11739 ปรัชญาของศาสนา 2555/04/07
    ถ้าหากพิจารณาสิ่งตรงข้ามกันระหว่างการหย่าร้าง กับการแต่งงาน,เพื่อค้นคว้าปรัชญาของความน่ารังเกลียดในการหย่าร้าง, อันดับแรกจำเป็นต้องกล่าวถึงความสำคัญของการแต่งงานก่อน[1] อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายขึ้นมาเป็นคู่ มนุษย์ในฐานะที่เป็นเครื่องหมายและเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้า อันเป็นเหตุของความสงบและความสันติ[2] รายงานฮะดีวจากบรรดาอิมามมะอฺซูม (อ.) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการแต่งงานไว้ว่า เป็นสิ่งที่ประเสริฐยิ่ง, ซึ่งท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการแต่งงานว่า : ไม่มีรากฐานอันใดได้ถูกวางไว้ในอิสลาม ซึ่งเป็นทีรักและมีเกียรติยิ่ง ณ พระองค์อัลลอฮฺ เหนือไปจากการแต่งงาน”[3] หนึ่งในประโยชน์อันสำคัญยิ่งของการแต่งงานคือ การขยายและดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ชาติ, ด้วยเหตุนี้เอง การหย่าร้างคือการทำลายการแต่งงาน ทำให้ครอบครัวต้องแตกแยก เด็กๆ ที่เกิดมาสมควรได้รับการดูแลจากมืออันอบอุ่นของบิดามารดา ร่มเงาของทั้งสองสมควรที่จะถอดเบียดบังพวกเขาให้ได้รับความปลอดภัย และมีความรู้สึกว่าได้รับความอบอุ่นเสมอ การปราศจากผู้ปกป้องดูแลคือ การขาดที่พำนักพักพิง ...
  • ถ้าหากมุสลิมคนหนึ่งหลังจากการค้นคว้าแล้วได้ยอมรับศาสนาคริสต์ ถือว่าตกศาสนาโดยกำเนิด และต้องประหารชีวิตหรือไม่?
    10751 ปรัชญาของศาสนา 2555/04/07
    แม้ว่าศาสนาอิสลามอันชัดแจ้งได้เชิญชวนมนุษย์ทั้งหมดไปสู่การเคารพภักดีต่ออัลลอฮฺ, แต่ก็มิได้หมายความว่าบังคับให้ทุกคนต้องยอมรับเช่นนั้น, เนื่องจากอีมานและความเชื่อศรัทธาต้องไม่เกิดจากการบีบบังคับ, แน่นอน แต่สิ่งนี้ก็มิได้หมายความว่าเป็นการเปิดโอกาสให้ขัดแย้งต่อรากหลักของศาสนา, เนื่องจากรากหลักของอิสลามวางอยู่บน หลักความเป็นเอกภาพของพระเจ้า และปฏิเสธการตั้งภาคีเทียบเทียมโดยสิ้นเชิง, และในทัศนะของอิสลามบุคคลใดที่ยอมรับอิสลามแล้ว และเจริญเติบโตขึ้นมาในครอบครัวอิสลาม, ต่อมาเขาได้ปฏิเสธรากศรัทธาของอิสลาม และเป็นปรปักษ์ซึ่งปัญหาความเชื่อส่วนตัวได้ลามกลายเป็นปัญหาสังคม และได้เผชิญหน้ากับศาสนา หรือสร้างฟิตนะฮฺ (ความเสื่อมทราม) ให้เกิดขึ้นทางความคิดของสังคมส่วนรวม และบังเกิดความลังเลใจในการตัดสินใจระหว่างสิ่งถูกกับสิ่งผิด, เท่ากับเขากลายเป็นอาชญากรของสังคม ดังนั้น จำเป็นต้องแบกรับบทลงโทษที่ได้ก่อขึ้น บทลงโทษของบุคคลที่ออกนอกศาสนาโดยกำเนิด ก็เนื่องจากเหตุผลที่ว่าเขาเป็นอาชญากร กระทำความผิดให้เกิดแก่สังคม มิใช่เพราะความผิดส่วนตัว ด้วยเหตุนี้เอง การลงโทษบุคคลที่ตกศาสนา จะไม่ครอบคลุมถึงบุคคลที่ออกนอกศาสนาไปแล้ว, แต่ไม่ได้เปิดเผยให้เกิดความเสียหายแก่คนอื่น อีกนัยหนึ่ง, สมมุติว่าบุคคลหนึ่งได้พยายามทุ่มเทค้นคว้าหาความจริงด้วยตัวเองว่า ฉะนั้น การตกศาสนาของเขาย่อมได้รับการอภัย ณ อัลลอฮฺ, แน่นอนว่า บุคคลเช่นนี้ในแง่ของบทบัญญัติส่วนตัวเขามิได้กระทำความผิดแต่อย่างใด, แต่ถ้าเขาเพิกเฉยต่อการค้นคว้าหาความจริงละก็ ในแง่ของบทบัญญัติที่ว่าด้วยเรื่องส่วนตัวถือว่า เขาได้กระทำผิด, ส่วนการตกศาสนานั้นไม่ถือว่าเป็นความผิดส่วนตัว เนื่องจากการออกนอกศาสนานั้น เท่ากับได้ทำลายจิตวิญญาณศาสนาของสังคมไปจนหมดสิ้นแล้ว นอกจากนั้นยังได้ทำลายและเป็นการคุกคามความสำรวมของประชาชน ...
  • ถ้าหากบนผิวหนังมีจุด่างดำ หรือสีน้ำตาล สามารถผ่าตัด หรือยิงเลเซอร์ได้ไหม ถ้าสามียินยอม?
    8213 สิทธิและกฎหมาย 2555/01/23
    ทัศนะของมัรญิอฺตักลีดบางท่านเกี่ยวกับการผ่าตัดจุดด่างดำปานบนผิวหนังด้วยการยิงเลเซอร์เช่นสำนักฯพณฯ
  • ความตายคืออะไร และเราสามารถยึดเวลาความตายออกไปได้ไหม ?
    10679 เทววิทยาดั้งเดิม 2553/12/22
    ความตายในทัศนะของนักปรัชญาอิสลามหมายถึงจิตวิญญาณได้หยุดการบริหารและแยกออกจากร่างกายแน่นอนทัศนะดังกล่าวนี้ได้สะท้อนมาจากอัลกุรอานและรายงานซึ่งตัวตนของความตายไม่ใช่การสูญสิ้นส่วนในหลักการของอิสลามมีการตีความเรื่องความตายแตกต่างกันออกไปซึ่งทั้งหมดมีจุดคล้ายเหมือนกันอยู่ประการหนึ่งกล่าวคือความตายไม่ใช่ความสูญสิ้นหรือดับสูญแต่อย่างใดทว่าหมายถึงการเปลี่ยนหรือการโยกย้ายจากบ้านหลังหนึ่งไปยังบ้านอีกหลังหนึ่งเนื่องจากมนุษย์นั้นประกอบไปด้วยร่างกายและจิตวิญญาณอีกอย่างหนึ่งความตายเท่ากับเป็นหยุดการทำงานของร่างกายภายนอกส่วนจิตวิญญาณได้โยกย้ายเปลี่ยนไปอยู่ยังปรโลกด้วยเหตุนี้ความตายจึงได้ถูกสัมพันธ์ไปยังมนุษย์
  • จุดประสงค์ของโองการที่ 85-87 บทอัลฮิจญฺร์ คืออะไร?
    7020 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/05/17
    อัลลอฮฺ (ซบ.) กล่าวในโองการโดยบ่งชี้ให้เห็นถึง, ความจริงและการมีเป้าหมายในการชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินของพระองค์ ทรงแนะนำแก่ท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ว่า จงแสดงความรักและความห่วงใยต่อบรรดาผู้ดื้อรั้น, พวกโง่เขลาทั้งหลาย, บรรดาพวกมีอคติ, พวกบิดพลิ้วที่ชอบวางแผนร้าย, พวกตั้งตนเป็นปรปักษ์ด้วยความรุนแรง, และพวกไม่รู้, จงอภัยแก่พวกเขา และจงแสดงความหวังดีต่อพวกเขา ในตอนท้ายของโองการ อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปลอบใจท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) และให้กำลังใจท่าน ว่าไม่ต้องเป็นกังวลหรือเป็นห่วงในเรื่องความรุนแรงจากฝ่ายศัตรู ผู้คนจำนวนมากกว่า สิ่งอำนวยความสะดวกที่ดีกว่า และทรัพย์สินจำนวนมากมายที่อยู่ในครอบครองของพวกเขา, เนื่องจากอัลลอฮฺ ทรงมอบความรัก ความเมตตา และเหตุผลในการเป็นศาสดาแก่ท่าน ซึ่งไม่มีสิ่งใดบนโลกนี้จะดีและเสมอภาคกับสิ่งนั้นโดยเด็ดขาด ...
  • จะต้องงดเว้นบาปนานเท่าใดจึงจะหลาบจำไม่ทำบาปอีก?
    6293 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/08/09
    เราไม่พบโองการหรือฮะดีษใดเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยตรงมีเพียงฮะดีษที่กล่าวว่า “ผู้ใดที่กระทำทุกอย่างด้วยความบริสุทธิใจต่ออัลลอฮ์ถึงสี่สิบวันอัลลอฮ์จะดลบันดาลให้วิทยปัญญาใหลรินจากหัวใจและปลายลิ้นของเขา”อย่างไรก็ดีควรคำนึงถึงสาระสำคัญต่อไปนี้1. ตราบเท่าที่มนุษย์ยังมีชีวิตอยู่ภัยคุกคามจากชัยฏอนก็ยังมีอยู่เสมอจึงไม่ควรจะคิดว่ามีภูมิคุ้มกันที่จะทำให้รอดพ้นการทำบาปได้ตลอดไป2. อย่าปล่อยให้ตนเองสิ้นหวังจากความเมตตาของอัลลอฮ์คนเราแม้จะทำบาปมากเท่าใดแต่ประตูแห่งการเตาบะฮ์ยังเปิดกว้างเสมอจึงต้องมีหวังในพระเมตตาของพระองค์ตลอดเวลา ...
  • ฮะดีษนี้เศาะฮี้ห์หรือไม่? รายงานจากอิมามญะฟัร(อ.)ว่า "ก่อนท่านนบี(ซ.ล.)จะนอน ท่านจะแนบใบหน้าที่หว่างอกของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.)เสมอ" (บิฮารุลอันว้าร,เล่ม 43,หน้า 78)
    8279 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2554/11/24
    ฮะดีษแบ่งออกเป็นสองประเภท ก.กลุ่มฮะดีษที่มีสายรายงานที่เชื่อถือได้แข็งแรงและเศาะฮี้ห์ ขกลุ่มฮะดีษที่มีสายรายงานที่ไม่น่าเชื่อถืออ่อนแอและไม่เป็นที่รู้จัก.ฮะดีษที่ยกมานั้นหนังสือบิฮารุลอันว้ารอ้างอิงจากหนังสือมะนากิ้บของอิบนิชะฮ์รอชู้บแต่เนื่องจากไม่มีสายรายงานที่ชัดเจนจึงจัดอยู่ในกลุ่มฮะดีษที่ไม่น่าเชื่อถือแต่สมมติว่าฮะดีษดังกล่าวเศาะฮี้ห์
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    28258 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • โปรดอธิบาย หลักความเชื่อของวะฮาบี และข้อทักท้วงของพวกเขาที่มีต่อชีอะฮฺว่า คืออะไร?
    19026 เทววิทยาดั้งเดิม 2555/06/30
    วะฮาบี, คือกลุ่มบุคคลที่เชื่อและปฏิบัติตาม มุฮัมมัด บิน อับดุลวะฮาบ, พวกเขาเป็นผู้ปฏิตามแนวคิดของสำนักคิด อิบนุตัยมียะฮฺ และสานุศิษย์ของเขา อิบนุ กัยยิม เญาซียฺ ซึ่งเขาเป็นผู้วางรากฐานทางความศรัทธาใหม่ในแคว้นอาหรับ. วะฮาบี เป็นหนึ่งในสำนักคิดของนิกายในอิสลาม ซึ่งมีผู้ปฏิบัติตามอยู่ในซาอุดิอารเบีย ปากีสถาน และอินเดีย ตามความเชื่อของพวกเขาการขอความช่วยเหลือผ่านท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) บรรดาอิมามผู้บริสุทธิ์ (อ.) การซิยาเราะฮฺ, การให้เกียรติ ยกย่องและแสดงความเคารพต่อสถานฝังศพของท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) และบรรดาอิมามผู้บริสุทธิ์ถือเป็น บิดอะฮฺ อย่างหนึ่ง ประหนึ่งเป็นการแสดงความเคารพต่อเจว็ดรูปปั้น ถือว่า ฮะรอม. พวกเขาไม่อนุญาตให้กล่าวสลาม หรือยกย่องให้เกียรติท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ยกเว้นในนมาซเท่านั้น, พวกเขายอมรับการสิ้นสุดชีวิตทางโลกของเขา เป็นการสิ้นสุดอันยิ่งใหญ่ และเป็นการสิ้นสุดที่มีเกียรติยิ่ง ร่องรอยของทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็น โดม ลูกกรง และอื่นๆ ...
  • อะไรคือสัญญาณของพระเจ้า ที่อยู่ในท้องฟ้าและแผ่นดิน?
    11834 เทววิทยาดั้งเดิม 2555/08/22
    ท้องฟ้าและแผ่นดิน และทุกสรรพสิ่งที่อยู่ในนั้น ทว่าทุกสิ่งที่มีอยู่ในโลกทั้งหมดเป็นสัญญาณ ที่บ่งบอกให้เห็นพลานุภาพของพระเจ้า สัญญาณต่างๆ นั้นมีจำนวนมากมายมหาศาล ซึ่งไม่มีผู้ใดสามารถคำนวณนับได้หมดสิ้น อัลกุรอาน ได้เชิญชวนมนุษย์ไปสู่การเรียนรู้จักสัญญาณเหล่านั้น ทั้งความกว้างไพศาล จำนวนกาแลคซี่ต่างๆ ระบบพลังงานแสงอาทิตย์, หมู่ดวงดาวต่างๆ และสิ่งมหัศจรรย์อีกจำนวนมากในนั้น การประสานกันของมวลเมฆ การเกิดฟ้าร้อง ฟ้าผ่า และฟ้าแลบ พร้อมประโยชน์มหาศาลของมัน การสร้างมนุษย์ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ ที่สลับซับซ้อนที่สุด ในขบวนการสร้างของพระองค์ การดำรงชีพและวัฎจักรชีวิตของผึ้ง และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งทั้งหมดเป็นเพียงส่วนหนึ่งแห่งสัญญาณของพระองค์ ที่บ่งบอกให้เห็นความรู้ วิทยญาณ และความปรีชาญาณของพระองค์ ...

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    60425 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    57994 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    42526 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    39845 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    39175 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    34287 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    28335 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    28258 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    28187 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    26128 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...